กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค ในโรงเรียนเขตรับผิดชอบของตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรังปีงบประมาณ 2567

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปรางเหนือ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค ในโรงเรียนเขตรับผิดชอบของตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรังปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายสถาพร อาจมังกร

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค ในโรงเรียนเขตรับผิดชอบของตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรังปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67 - L1519 - 1 - 2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค ในโรงเรียนเขตรับผิดชอบของตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรังปีงบประมาณ 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปรางเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค ในโรงเรียนเขตรับผิดชอบของตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรังปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค ในโรงเรียนเขตรับผิดชอบของตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรังปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67 - L1519 - 1 - 2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,530.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปรางเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)   นักเรียนช่วงวัยเรียน เป็นช่วงวัยที่สําคัญที่สุดของการวางรากฐานพัฒนาการทุกด้าน ทั้งทางร่างกาย อารมณ์ สภาพจิตใจ สังคม และสติปัญญา เป็นช่วงวัยแห่งพลังการเรียนรู้และการเจริญเติบโตของชีวิต ซึ่งการปูพื้นฐานให้เด็กมีความพร้อมนั้นขึ้นอยู่กับการฝึกอบรมเลี้ยงดูเด็กตั้งแต่เยาว์วัย ซึ่งคำกล่าวของสิริมา ภิญโญอนันตพงษ์ (2550: 1) ได้กล่าวไว้ว่า วัยของเด็กเป็นช่วงระยะที่สําคัญที่สุดของพัฒนาการทุกด้าน อยู่ในช่วงวัยแห่งพลังการเจริญเติบโตงอกงามของชีวิต มีธรรมชาติความเจริญที่แตกต่างจากวัยอื่นๆในช่วงชีวิตของความเป็นมนุษย์ การจัดการศึกษาตั้งแต่ปฐมวัย ประถมศึกษาจึงต้องดําเนินการให้สามารถตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของเด็กให้มีพัฒนาการสมวัยในทุกๆ ด้าน ที่มุ่งให้เด็กมีพัฒนาการสมวัยทุกด้าน โดยเฉพาะพัฒนาการด้านร่างกายซึ่งเป็นพัฒนาการที่มีความสําคัญอย่างยิ่ง ดังที่ได้กําหนดไว้ในมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ข้อที่ 1 คือ มีร่างกายเจริญเติบโตตามวัย และมีสุขนิสัยที่ดีโดยเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมวัย รู้จักการดูแลสุขภาพ การปฏิบัติตนตามสุขอนามัย รู้จักการรักษาความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นในกิจวัตรประจําวัน (สํานักมาตรฐานและวิชาการ. 2546ก: 17) คุณลักษณะดังกล่าวเป็นสิ่งที่สําคัญที่ควรส่งเสริมให้กับเด็กปฐมวัยเป็นอย่างแรก เพราะการมีร่างกายและมีสุขภาพที่ดีนั้นจะเป็นรากฐานที่สําคัญต่อการดํารงชีวิตของมนุษย์นับตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึงสิ้นอายุขัย สุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์เป็นจุดเริ่มต้นของการส่งเสริมพัฒนาการในทุกๆด้าน   เมื่อกล่าวถึงผู้ที่มีความสำคัญในการจัดการ ควบคุมส่งเสริม สนับสนุนปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ และปัจจัยส่งเสริมคุณภาพชีวิต สุขอนามัยพื้นฐานของเด็กนั้นก็คือ ครู พี่เลี้ยงเด็ก/ผู้ดูแลเด็ก แม้กระทั่งตัวของนักเรียนเอง ซึ่งค่อยส่งเสริมความเป็นอยู่ในโรงเรียน ให้สามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดี เด็กมีความสุข มีความสะดวกสบายในชีวิต ร่างกายมีความสะอาด ถูกสุขอนามัย มีความปลอดภัยได้ส่งเสริมพัฒนาการ และความคิดสร้างสรรค์อย่างเหมาะสม โรงเรียนที่มีการจัดการ ควบคุม ส่งเสริม และขจัดหรือลดปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อความเป็นอยู่ในโรงเรียน นอกจากนั้นเด็กควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง และการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขอนามัยที่ดีต่อตนเอง อันส่งผลต่อพฤติกรรมสุภาพที่ดี และปฏิบัติได้ถูกต้องเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในอนาคต ดังนั้นครู พี่เลี้ยงเด็ก/ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองจำเป็นต้องได้รับการอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะต่างๆ เพื่อให้สามารถดูแลเด็กได้ดียิ่งขึ้น และต่อเนื่อง ทางกลุ่มงานบริการปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลวังวิเศษ เห็นความสำคัญ การส่งเสริมและเตรียมความพร้อมตั้งแต่ปฐมวัย โดยเฉพาะทางด้านพฤติกรรมสุขภาพ และสุขอนามัยที่ดีสำหรับนักเรียน กลุ่มงานบริการปฐมภูมิและองค์รวม เตรียมความพร้อมตามมาตรการการป้องกันโรคติดต่อ ภาวะโภชนาการ และภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน เนื่องด้วยปัจจุบัน ภาวะดังที่กล่าวมามีผลต่อเด็กทุกช่วงวัย และส่งระยะยาวในอนาคต หน่วยงานบริการสาธารณสุขในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขต้องดำเนินการ ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมในโรงเรียน ได้แก่ โรคอ้วน โรคขาดสารอาหาร โรคที่เกี่ยวข้องกับภาวะโภชนาการต่างๆ ฯลฯ รวมทั้งโรคติดต่อ และโรคติดเชื้อที่สำคัญ   จากปัญหาและความสำคัญดังกล่าว ทางกลุ่มงานบริการปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลวังวิเศษ ได้เล็งเห็นตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค ในโรงเรียนเขตรับผิดชอบของตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2567 เพื่อให้ครู บุคลากร และนักรียน มีความรู้เรื่องโรคติดต่อ โรคติดเชื้อที่สำคัญ การป้องกันและการควบคุมโรค รวมทั้งส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการได้อย่างถูกวิธีและเหมาะสมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. กลุ่มเป้าหมาย (คุณครู บุคลากร และนักเรียน) มีความรู้เรื่องโรคติดต่อ โรคติดเชื้อที่สำคัญ ส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และการล้างมือที่ถูกต้อง
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย (คุณครู บุคลากร และนักเรียน) สามารถป้องกันโรคได้เบื้องต้น โดยการล้างมือ 7 ขั้นตอนถูกต้อง
  3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย (คุณครู บุคลากร และนักเรียน) สามารถป้องกันโรคได้เบื้องต้น โดยการล้างมือ 7 ขั้นตอนถูกต้อง
  4. เพื่อให้นักเรียนได้รับการคัดกรอง และประเมินภาวะโภชนาการ (ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และแปลผล)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 140
    กลุ่มวัยทำงาน 12
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 กลุ่มเป้าหมาย (คุณครู บุคลากร และนักเรียน) มีความรู้เรื่องโรคติดต่อ โรคติดเชื้อที่สำคัญ ส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และการล้างมือที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมาย (คุณครู บุคลากร และนักเรียน) มีความรู้เรื่องโรคติดต่อ โรคติดเชื้อที่สำคัญ ส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และการล้างมือที่ถูกต้อง หลังให้ความรู้มากกว่าก่อนให้ความรู้ มากกว่าร้อยละ 80
    80.00

     

    2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย (คุณครู บุคลากร และนักเรียน) สามารถป้องกันโรคได้เบื้องต้น โดยการล้างมือ 7 ขั้นตอนถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมาย (คุณครู บุคลากร และนักเรียน) สามารถป้องกันโรคได้เบื้องต้น โดยการล้างมือ 7 ขั้นตอนถูกต้อง มากกว่าร้อยละ 90
    90.00

     

    3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย (คุณครู บุคลากร และนักเรียน) สามารถป้องกันโรคได้เบื้องต้น โดยการล้างมือ 7 ขั้นตอนถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมาย (คุณครู บุคลากร และนักเรียน) สามารถป้องกันโรคได้เบื้องต้น โดยการล้างมือ 7 ขั้นตอนถูกต้อง มากกว่าร้อยละ 90
    90.00

     

    4 เพื่อให้นักเรียนได้รับการคัดกรอง และประเมินภาวะโภชนาการ (ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และแปลผล)
    ตัวชี้วัด : เพื่อให้นักเรียนได้รับการคัดกรอง และประเมินภาวะโภชนาการ (ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และแปลผล) มากกว่าร้อยละ 80
    80.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 152
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 140
    กลุ่มวัยทำงาน 12
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กลุ่มเป้าหมาย (คุณครู บุคลากร และนักเรียน) มีความรู้เรื่องโรคติดต่อ โรคติดเชื้อที่สำคัญ ส่งเสริมและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ และการล้างมือที่ถูกต้อง (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย (คุณครู บุคลากร และนักเรียน) สามารถป้องกันโรคได้เบื้องต้น โดยการล้างมือ 7 ขั้นตอนถูกต้อง (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย (คุณครู บุคลากร และนักเรียน) สามารถป้องกันโรคได้เบื้องต้น โดยการล้างมือ 7 ขั้นตอนถูกต้อง (4) เพื่อให้นักเรียนได้รับการคัดกรอง และประเมินภาวะโภชนาการ (ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และแปลผล)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรค ในโรงเรียนเขตรับผิดชอบของตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรังปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 67 - L1519 - 1 - 2

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสถาพร อาจมังกร )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด