โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงลดโรคความดันและเบาหวานปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงลดโรคความดันและเบาหวานปี 2567 ”
หัวหน้าโครงการ
นายประเทือง อมรวิริยะชัย
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงลดโรคความดันและเบาหวานปี 2567
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ L3308-67-01-01 เลขที่ข้อตกลง 14/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงลดโรคความดันและเบาหวานปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงลดโรคความดันและเบาหวานปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงลดโรคความดันและเบาหวานปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ L3308-67-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 120 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมสร้างความเข้าใจกับประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดัน
- อบรมกลุ่มเป้าหมาย
- ประชุมตัวแทนกลุ่มที่เป็นกลไกติดตาม/เฝ้าระวัง
- เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1
- เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2
- สรุปและประเมินผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง
2.ประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมสร้างความเข้าใจกับประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดัน
วันที่ 24 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- เจ้าหน้าที่อธิบายรายละเอียด โครงการ
- สรรหากลุ่มเป้าหมาย จำนวน 60 คน
- จัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.มีผู้เข้าร่วมอบรม 120 คน
2.มีผู้สนใจเข้าร่วมทำโครงการ 60 คน
3.มีทะเบียนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 60 คน
120
0
2. อบรมกลุ่มเป้าหมาย
วันที่ 24 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้เรื่องพฤติกรรมสุขภาพ การออกกำลังกาย ลดหวานมันเค็ม พิ่มการกินผักผลไม้
ตรวจข้อมูลสถานะสุขภาพ ค่าน้ำตาลในเลือด น้ำหนัก ส่วนสูง รอบเอว พฤติกรรมการกิน
แบ่งกลุ่มย่อยกลุ่มละ10คน จำนวน6กลุ่ม และแจกสมุดบันทึกผลสถานะสุขภาพ ให้คัดเลือกตัวแทนกลุ่มๆละ 2คน
กำหนดแนวทางการเฝ้าระวัง การติดตาม และการรายงานผลของแต่ละกลุ่ม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมประชุม มีความรู้เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม หลัก3อ.2ส สาธิตวิธีการออกกำลังกายได้
มีการแบ่งกลุ่ม หาผู้นำกลุ่ม ๆละ 10 คน จำนวน 6 กลุ่ม และมีตัวแทนกลุ่มละ 2 คน มีแกนนำในการติดตาม จำนวน 12คน
มีสมุดบันทึกสถานะสุขภาพคนละ 1เล่ม
60
0
3. ประชุมตัวแทนกลุ่มที่เป็นกลไกติดตาม/เฝ้าระวัง
วันที่ 31 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมตัวแทนกลุ่มจำนวน 12 คน ชี้แจ้งแนวทางการดำเนินงาน แนะนำวิธีการใช้เครื่องมือ และการบันทึกข้อมูลการเปลี่ยนแปลงน้ำหนัก รอบเอว ค่าความดันโลหิตของสมาชิกกลุ่ม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ตัวแทนกลุ่ม จำนวน 12 คน สามารถใช้เครื่องมือในการติดตามพฤติกรรมของสมาชิกกลุ่มได้ถูกต้อง มีการลงบันทึกได้ถูกต้อง
12
0
4. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1
วันที่ 27 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ติดตามพฤติกรรมปรับเปลี่ยนของสมาชิกในกลุ่มจากสมุดบันทึก พูดคุยหารือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประเด็นปัญหาที่สมาชิกไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้ และหารือวิธีแก้ปัญหาร่วมกัน กำหนดติดตามต่ออีก 3 เดือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สมาชิกกลุ่มทุกคนร่วมกันหารือและกำหนดแนวทางแก้ปัญหาเพื่อให้กลุ่มของตนเองได้ปรับพฤติกรรมต่อไปเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายคือลดความเสี่ยงกลับเป็นกลุ่มปกติ
60
0
5. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2
วันที่ 5 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ติดตามพฤติกรรมปรับเปลี่ยนของสมาชิกในกลุ่มหลังจากปรับเปลี่ยนพฤติกรรมครบ 3เดือน พูดคุยหารือแลกเปลี่ยนประเด็นปัญหา และวิธีแก้ปัญหา ข้อดี-ข้อเสีย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สมาชิกในกลุ่มคนที่สามารถลดน้ำหนัก รอบเอว และมีค่าน้ำตาล ระดับความดันในกลุ่มปกติมีจำนวน 35 คน
สมาชิกที่ไม่สามารถปรับพฤติกรรมได้ยังคงเป็นกลุ่มเสี่ยง จำนวน 25 คน
60
0
6. สรุปและประเมินผล
วันที่ 10 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประเมินผลการติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของสมาชิกในกลุ่ม สรุปผลลัพธ์กการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของสมาชิกในกลุ่มทุกคนโดยผู้นำกลุ่มนำเสนอข้อมูลผลการเปลี่ยนแปลงน้ำหนัก รอบเอว ค่าความดันโลหิต
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
พฤติกรรมของสมาชิกในกลุ่ม มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลน้ำหนัก รอบเอว ค่าความดันโลหิต ค่าน้ำตาลปลายนิ้วดังนี้
ค่าน้ำตาลลดลงในระดับปกติจำนวน 35 คน
ค่าน้ำตาลยังคงอยู่ในกลุ่มเสี่ยง จำนวน 25 คน
ค่าความดันโลหิตลดลงในระดับปกติจำนวน 39 คน
ค่าความดันโลหิตคงเดิมยังคงเสี่ยงจำนวน 21 คน
รอบเอวลดลง จำนวน 25 คน
ไม่มีกลุ่มที่สงสัยป่วย
12
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง
8.44
3.00
2
เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
13.64
8.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมสร้างความเข้าใจกับประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดัน (2) อบรมกลุ่มเป้าหมาย (3) ประชุมตัวแทนกลุ่มที่เป็นกลไกติดตาม/เฝ้าระวัง (4) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (5) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2 (6) สรุปและประเมินผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงลดโรคความดันและเบาหวานปี 2567 จังหวัด
รหัสโครงการ L3308-67-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายประเทือง อมรวิริยะชัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงลดโรคความดันและเบาหวานปี 2567 ”
หัวหน้าโครงการ
นายประเทือง อมรวิริยะชัย
กันยายน 2567
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ L3308-67-01-01 เลขที่ข้อตกลง 14/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงลดโรคความดันและเบาหวานปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงลดโรคความดันและเบาหวานปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงลดโรคความดันและเบาหวานปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ L3308-67-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชะรัด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 120 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
- เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมสร้างความเข้าใจกับประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดัน
- อบรมกลุ่มเป้าหมาย
- ประชุมตัวแทนกลุ่มที่เป็นกลไกติดตาม/เฝ้าระวัง
- เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1
- เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2
- สรุปและประเมินผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 120 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง
2.ประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมสร้างความเข้าใจกับประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดัน |
||
วันที่ 24 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.มีผู้เข้าร่วมอบรม 120 คน
|
120 | 0 |
2. อบรมกลุ่มเป้าหมาย |
||
วันที่ 24 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้เรื่องพฤติกรรมสุขภาพ การออกกำลังกาย ลดหวานมันเค็ม พิ่มการกินผักผลไม้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมประชุม มีความรู้เรื่องพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม หลัก3อ.2ส สาธิตวิธีการออกกำลังกายได้
|
60 | 0 |
3. ประชุมตัวแทนกลุ่มที่เป็นกลไกติดตาม/เฝ้าระวัง |
||
วันที่ 31 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมตัวแทนกลุ่มจำนวน 12 คน ชี้แจ้งแนวทางการดำเนินงาน แนะนำวิธีการใช้เครื่องมือ และการบันทึกข้อมูลการเปลี่ยนแปลงน้ำหนัก รอบเอว ค่าความดันโลหิตของสมาชิกกลุ่ม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตัวแทนกลุ่ม จำนวน 12 คน สามารถใช้เครื่องมือในการติดตามพฤติกรรมของสมาชิกกลุ่มได้ถูกต้อง มีการลงบันทึกได้ถูกต้อง
|
12 | 0 |
4. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 |
||
วันที่ 27 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำติดตามพฤติกรรมปรับเปลี่ยนของสมาชิกในกลุ่มจากสมุดบันทึก พูดคุยหารือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประเด็นปัญหาที่สมาชิกไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้ และหารือวิธีแก้ปัญหาร่วมกัน กำหนดติดตามต่ออีก 3 เดือน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสมาชิกกลุ่มทุกคนร่วมกันหารือและกำหนดแนวทางแก้ปัญหาเพื่อให้กลุ่มของตนเองได้ปรับพฤติกรรมต่อไปเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายคือลดความเสี่ยงกลับเป็นกลุ่มปกติ
|
60 | 0 |
5. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2 |
||
วันที่ 5 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำติดตามพฤติกรรมปรับเปลี่ยนของสมาชิกในกลุ่มหลังจากปรับเปลี่ยนพฤติกรรมครบ 3เดือน พูดคุยหารือแลกเปลี่ยนประเด็นปัญหา และวิธีแก้ปัญหา ข้อดี-ข้อเสีย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสมาชิกในกลุ่มคนที่สามารถลดน้ำหนัก รอบเอว และมีค่าน้ำตาล ระดับความดันในกลุ่มปกติมีจำนวน 35 คน สมาชิกที่ไม่สามารถปรับพฤติกรรมได้ยังคงเป็นกลุ่มเสี่ยง จำนวน 25 คน
|
60 | 0 |
6. สรุปและประเมินผล |
||
วันที่ 10 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประเมินผลการติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของสมาชิกในกลุ่ม สรุปผลลัพธ์กการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของสมาชิกในกลุ่มทุกคนโดยผู้นำกลุ่มนำเสนอข้อมูลผลการเปลี่ยนแปลงน้ำหนัก รอบเอว ค่าความดันโลหิต ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นพฤติกรรมของสมาชิกในกลุ่ม มีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลน้ำหนัก รอบเอว ค่าความดันโลหิต ค่าน้ำตาลปลายนิ้วดังนี้ ค่าน้ำตาลลดลงในระดับปกติจำนวน 35 คน ค่าน้ำตาลยังคงอยู่ในกลุ่มเสี่ยง จำนวน 25 คน ค่าความดันโลหิตลดลงในระดับปกติจำนวน 39 คน ค่าความดันโลหิตคงเดิมยังคงเสี่ยงจำนวน 21 คน รอบเอวลดลง จำนวน 25 คน ไม่มีกลุ่มที่สงสัยป่วย
|
12 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง |
8.44 | 3.00 |
|
|
2 | เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง |
13.64 | 8.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 120 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมสร้างความเข้าใจกับประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดัน (2) อบรมกลุ่มเป้าหมาย (3) ประชุมตัวแทนกลุ่มที่เป็นกลไกติดตาม/เฝ้าระวัง (4) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (5) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 2 (6) สรุปและประเมินผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงลดโรคความดันและเบาหวานปี 2567 จังหวัด
รหัสโครงการ L3308-67-01-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายประเทือง อมรวิริยะชัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......