กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ


“ โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมตำบลปากล่อ ประจำปีงบ 2567 ”

ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมะสดี เจะเละ

ชื่อโครงการ โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมตำบลปากล่อ ประจำปีงบ 2567

ที่อยู่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L2983-01-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 พฤษภาคม 2567 ถึง 5 พฤษภาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมตำบลปากล่อ ประจำปีงบ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมตำบลปากล่อ ประจำปีงบ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมตำบลปากล่อ ประจำปีงบ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L2983-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 พฤษภาคม 2567 - 5 พฤษภาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 67,470.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
          การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (การเข้าสุนัต) คือการทำความสะอาดร่างกายที่ต้องตัดแต่งเพื่อขจัดความสกปรกจากงานวิจัยพบว่าการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย สามารถลดความเสี่ยงการติดเชื้อ HIV ได้ร้อยละ 50-60 เนื่องจากผิวหนังบริเวณนี้จะมีต่อมซึ่งจะสร้างสารที่เรียกว่า Smegma หรือขี้เปียก นอกจากนี้การขลิบหนังปลายอวัยวะเพศชาย ผู้ขลิบจะลดโอกาสเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เช่น ซิฟิลิส แผลริมอ่อน และลดความเสี่ยงของมะเร็ง องคชาติ และถ้าหากขลิบในเด็กทารก ก็จะลดโอกาสเกิดการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะในเด็กอีกด้วย ผู้หญิงที่เป็นคู่ของผู้ชายที่ขลิบจะลดความเสี่ยงของการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และลดอัตราเสี่ยงการเกิดมะเร็งปากมดลูก           ในทัศนะของอิสลามนั้นการขลิบปลายหนังหุ้มอวัยวะเพศชายเป็นการเอาใจใส่ดูแลสุขอนามัยและการทำให้บริสุทธิ์ การขลิบเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับมุสลิมชายทุกคน ภาษาอาหรับ เรียกว่า คีตาน ภาษามาลายู เรียกว่า มาโซ๊ะยาวี ส่วนคนไทยโดยทั่วไป เรียกว่า พิธีเข้าสุนัต หมายถึง การขลิบปลายอวัยวะเพศของเด็กมุสลิมชาย เมื่อย่างเข้าวัยอันควร คือ อายุระหว่าง 6 - 12 ปี โดยการตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะสืบพันธุ์ของชายเป็นส่วนหนึ่งของการรักษาความสะอาด หากหนังหุ้มนั้นยังปกคลุมอยู่ ส่วนวัตถุที่คล้ายเนยแข็งซึ่งขับถ่ายออกมาโดยผิวหนังของบริเวณปลายอวัยวะสืบพันธุ์จะหมักหมมอยู่ การเข้าสุนัตเป็นการขจัดสิ่งนี้โดยวิธีที่ดีที่สุด อีกประการหนึ่งเพื่อป้องกันน้ำปัสสาวะค้างซึ่งเป็นสิ่งสกปรกมีกลิ่น ยากแก่การทำความสะอาด ในด้านการแพทย์ให้ความเห็นว่า สุนัตเป็นมาตรการที่มีความสำคัญในทางสุขวิทยาเป็นอย่างมาก มุสลิมใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้โดยส่วนใหญ่ การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย มักทำกับหมอบ้าน หรือที่เรียกกันว่า โต๊ะมูเด็ง จากความเชื่อและประเพณีตั้งแต่อดีตเชื่อว่า การทำกับแพทย์จะทำให้อวัยวะเพศไม่แข็งแรง การทำกับโต๊ะมูเด็งเป็นประเพณี ที่คนเฒ่าคนแก่เคยทำกัน ซึ่งที่ผ่านมาพบว่า การทำสุนัตกับโต๊ะมูเด็งมักจะมีเหตุการณ์เลือดออกมาก(bleeding) ทำให้เกิดภาวะช็อกหรือการติดเชื้อ เช่น ติดเชื้อตับอักเสบ เชื้อ HIV จากการใช้เครื่องร่วมกันโดยไม่ได้ล้างทำความสะอาดอย่างถูกวิธี เนื่องจากสมัยก่อนโต๊ะมูเด็งทำการขลิบโดยไม่ใช้ยาชา ใช้อุปกรณ์เพียงไม่กี่ชนิด เช่น ผ้าพันแผล ยางแดง มีด ที่หนีบ (ปงาเป้ะ) หยวกกล้วยและน้ำสะอาด ในช่วงหลังเริ่มมีการใช้ยาชาช่วยลดความเจ็บปวด และใช้แอลกอฮอล์ช่วยทำความสะอาดก่อนขลิบ หลังจากการขลิบเสร็จมีทั้งแผลที่ติดเชื้อและไม่ติดเชื้อ ปัจจุบันการแพทย์สมัยใหม่สามารถเข้าถึงได้ง่าย มีการใช้เครื่องมือที่สะอาดและวิธีการที่ปลอดภัยมากขึ้น การขลิบสมัยใหม่มีทางเลือกมากมายเช่น การจัดเข้าสุนัตหมู่ ซึ่งดำเนินการโดยกลุ่มบุคลากรสาธารณสุขที่ได้รับการฝึกฝนจนชำนาญ องค์การบริหารส่วนตำบลปากล่อได้เล็งเห็นความสำคัญของการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายหรือสุนัตในกลุ่มเด็กและเยาวชนในพื้นที่ โดยแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่มีความรู้ ทักษะด้านการขลิบหนังหุ้มปลายแบบปราศจากเชื้อ เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับบริการที่ปลอดภัยและมีคุณภาพยิ่งขึ้น           การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายหรือการเข้าสุนัตถือเป็นการทำนุบำรุงศาสนาการอนุรักษ์สืบสาน ธรรมเนียมประเพณีทางศาสนาอิสลามให้ยุวชนมุสลิมได้เข้าสุนัตอย่างถูกต้องปลอดภัย และแบ่งเบาภาระการเข้าสุนัตของผู้ปกครองตลอดจนเพื่อเป็นการรณรงค์และสร้างสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพนอกจากนี้ทำให้เด็กและเยาวชนมุสลิมในพื้นที่ตำบลปากล่อสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค โดยเฉพาะโรคติดเชื้อต่างๆ งานสาธารณสุข สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลปากล่อ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เด็ก เยาวชน ปละผู้ปกครองในพื้ที่ตำบลปากล่อมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ (Circumcision) ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ
  2. 2.เพื่อเด็กและเยาวชนมุสลิมในพื้นที่ตำบลปากล่อ สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยเพศชายที่ถูกต้องตามหลักการแพทย์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมบรรยายให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ (Circumcision) และลดความเสี่ยงการติดเชื้อ ให้แก่เด็ก เยาวชน และผู้ปกครอง
  2. กิจกรรมทำหัตถการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (Circumsion)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 45
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สืบสานธรรมเนียมประเพณีทางศาสนาอิสลามในการเข้าสุนัต ปลอดภัย ตามหลักการแพทย์ และเด็ก เยาวชน รวมถึงผู้ปกครอง มีความรู้ในการดูแลสุขภาพหลังจากการขลิบได้อย่างถูกต้อง         2.เด็กและเยาวชนมุสลิมได้รับการทำสุนัต (ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) สามารถลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด (bleeding) ภาวะแทรกซ้อนและการติดเชื้อ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เด็ก เยาวชน ปละผู้ปกครองในพื้ที่ตำบลปากล่อมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ (Circumcision) ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ
ตัวชี้วัด : เด็กเยาวชน และผู้ปกครองมุสลิมในพื้นที่ตำบลปากล่อ ได้รับความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ (Circumcision) รวมทั้งลดภาวะแทรกซ้อนในการป้องกันโรคติดเชื้อ

 

2 2.เพื่อเด็กและเยาวชนมุสลิมในพื้นที่ตำบลปากล่อ สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยเพศชายที่ถูกต้องตามหลักการแพทย์
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมุสลิมในพท้นที่ตำบลปากล่อได้รับบริการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ที่ถูกต้องตามหลักการแพทย์

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 45
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เด็ก เยาวชน ปละผู้ปกครองในพื้ที่ตำบลปากล่อมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ (Circumcision) ลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อ (2) 2.เพื่อเด็กและเยาวชนมุสลิมในพื้นที่ตำบลปากล่อ สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยเพศชายที่ถูกต้องตามหลักการแพทย์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมบรรยายให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพหลังการขลิบ (Circumcision) และลดความเสี่ยงการติดเชื้อ ให้แก่เด็ก เยาวชน และผู้ปกครอง (2) กิจกรรมทำหัตถการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (Circumsion)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายแก่เด็กและเยาวชนมุสลิมตำบลปากล่อ ประจำปีงบ 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L2983-01-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมะสดี เจะเละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด