โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออกในชุมชนตำบลยะลา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออกในชุมชนตำบลยะลา ”
ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอินดรา หามะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออกในชุมชนตำบลยะลา
ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67 - L4138 – 01 - 01 เลขที่ข้อตกลง 004/67
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 พฤศจิกายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออกในชุมชนตำบลยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออกในชุมชนตำบลยะลา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออกในชุมชนตำบลยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67 - L4138 – 01 - 01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 พฤศจิกายน 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
“โรคไข้เลือดออก” เป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศมานาน และในแต่ละปีจากอัตราการป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกเพิ่มเป็นจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ “โรคไข้เลือดออก” เป็นโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค “ยุงลาย” จะมีนิสัยชอบออกหากินในเวลากลางวันและจะเพาะพันธุ์ตามแหล่งเพาะพันธุ์ในธรรมชาติ และแหล่งเพาะพันธุ์ที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น โพรงไม้ โพรงหิน กระบอกไม้ไผ่ ยางรถยนต์ รางระบายน้ำที่อุดตัน ถ้วยรองน้ำยางพาราที่ไม่ใช้แล้ว เป็นต้น ดังนั้น การกำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย จึงเป็นเรื่องสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการป้องกันและยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
จากข้อมูลสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย ของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่เดือน มกราคม ถึง 23 ตุลาคม 2566 พบผู้ป่วยไข้เลือดออกพื้นที่จังหวัดยะลา จำนวน 1,057 ราย และตำบลยะลาพบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 6 ราย ซึ่งมากกว่าปีที่ผ่านในช่วงเวลาเดียวกัน และจากการพิจารณาพื้นที่อำเภอที่เสี่ยงสูงที่มีการระบาดซ้ำซากในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา พบว่ามีจำนวนทั้งสิ้น 308 อำเภอ จาก 928 อำเภอจากทั่วประเทศ ซึ่งอำเภอเมืองยะลาจัดอยู่ในอำเภอที่เสี่ยงสูงของการระบาดของโรคไข้เลือดออกเช่นกัน
ในการนี้ ทางสำนักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลยะลา ได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออกที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในชุมชน พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนโดยเน้นให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม และถือเป็นภารกิจสำคัญที่ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องช่วยกันกระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อฟื้นฟูความรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับการฉีดพ่นหมอกควันให้กับเจ้าหน้าที่ อบต.ยะลา ทีมฉีดพ่นหมอกควัน และประชาชนที่สนใจ
- เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในชุมชน
- เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในกรณีที่พบผู้ป่วยในพื้นที่ได้อย่างเหมาะสมแลทันท่วงที
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- รณรงค์ประชาสัมพันธ์
- ป้องกันและควบคุมโรค
- การรณรงค์ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดยการแจกแผ่นพับ และป้ายไวนิลรณรงค์ประชาสัมพันธ์
- อบรมฟื้นฟูความรู้และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการฉีดพ่นหมอกควัน
- กิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยออกทำการฉีดพ่นหมอกควันเพื่อป้องกันโรคในพื้นที่ตำบลยะลาอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และฉีดพ่นควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลยะลา
- ประชาชนในพื้นที่มีความตระหนักเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาไข้เลือดออก โดยประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมรอบบริเวณบ้านให้เอื้อต่อการป้องกันโรค
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การรณรงค์ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดยการแจกแผ่นพับ และป้ายไวนิลรณรงค์ประชาสัมพันธ์
วันที่ 20 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
การรณรงค์ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดยการแจกแผ่นพับ และป้ายไวนิลรณรงค์ประชาสัมพันธ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออกในพื้นที่โดยการประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย มีการดำเนินการแจกแผ่นพับ โลชั่นทากันยุง และทรายอะเบท บูรณาการร่วมกับเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านยะลาและอสม.ตำบลยะลา
0
0
2. กิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยออกทำการฉีดพ่นหมอกควันเพื่อป้องกันโรคในพื้นที่ตำบลยะลาอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และฉีดพ่นควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
วันที่ 23 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- การป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดยการแจกทรายอะเบทและทำการฉีดพ่นหมอกควันในพื้นที่ตำบลยะลาอย่างน้อยปีละ 2 ครั้งๆ ละ 4 วัน
- การควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือด ออก ในกรณีที่พบผู้ป่วยในพื้นที่ โดยออกทำการฉีดพ่นหมอกควันบริเวณโดยรอบพื้นที่บ้านของผู้ป่วยในรัศมี 100 เมตร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควัน เพื่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ในมัสยิด ปอเนาะ และโรงเรียนในพื้นที่ตำบลยะลา จำนวน 1 ครั้ง ๆ ละ 4 วัน
- ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควันเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออกกรณีมีรายงานการระบาด โดยดำเนินการฉีดพ่นหมอกควันบริเวณโดยรอบพื้นที่บ้านของผู้ป่วยในระยะ 100 เมตร จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 8 ราย ๆ ละ 4 วัน ตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด
0
0
3. อบรมฟื้นฟูความรู้และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการฉีดพ่นหมอกควัน
วันที่ 25 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
เปิดการอบรม โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออกในชุมชน ตำบลยะลา
อบรมให้ความรู้เรื่อง
- โรคไข้เลือดออกและการป้องกันโรค
- ขั้นตอนการเตรียมความพร้อมก่อนการพ่นหมอกควัน และการคำนวณปริมาณน้ำยาที่ใช้ในการพ่นควบคุมป้องกันโรค
- การเตรียมพื้นที่
- การปฏิบัติในการพ่นหมอกควัน
ฝึกปฏิบัติการฉีดพ่นหมอกควัน หลักการทำงานเครื่องพ่น และการ บำรุงรักษาเครื่องพ่น ให้มีอายุการใช้งานได้ยาวนานขึ้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ดำเนินการอบรมทบทวนให้ความรู้และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการฉีดพ่นหมอกควันให้กับเจ้าหน้าที่ อบต.ยะลา ทีมฉีดพ่นหมอกควัน และประชาชนที่สนใจ จำนวน 10 คน และส่งผลให้คณะทำงานมีการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องในการฉีดพ่นหมอกควันเพื่อป้องกันและควบคุมที่เกิดจากยุง
10
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อฟื้นฟูความรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับการฉีดพ่นหมอกควันให้กับเจ้าหน้าที่ อบต.ยะลา ทีมฉีดพ่นหมอกควัน และประชาชนที่สนใจ
ตัวชี้วัด : เจ้าหน้าที่ อบต.ยะลา ทีมฉีดพ่นหมอกควัน และประชาชนที่สนใจมีความรู้ละสามารถปฏิบัติเกี่ยวกับการฉีดพ่นหมอกควัน
100.00
100.00
2
เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในชุมชน
80.00
90.00
3
เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในกรณีที่พบผู้ป่วยในพื้นที่ได้อย่างเหมาะสมแลทันท่วงที
ตัวชี้วัด : สามารถป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในกรณีที่พบผู้ป่วยในพื้นที่ได้อย่างเหมาะสมแลทันท่วงที
100.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฟื้นฟูความรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับการฉีดพ่นหมอกควันให้กับเจ้าหน้าที่ อบต.ยะลา ทีมฉีดพ่นหมอกควัน และประชาชนที่สนใจ (2) เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในชุมชน (3) เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในกรณีที่พบผู้ป่วยในพื้นที่ได้อย่างเหมาะสมแลทันท่วงที
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ (3) ป้องกันและควบคุมโรค (4) การรณรงค์ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดยการแจกแผ่นพับ และป้ายไวนิลรณรงค์ประชาสัมพันธ์ (5) อบรมฟื้นฟูความรู้และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการฉีดพ่นหมอกควัน (6) กิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยออกทำการฉีดพ่นหมอกควันเพื่อป้องกันโรคในพื้นที่ตำบลยะลาอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และฉีดพ่นควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออกในชุมชนตำบลยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67 - L4138 – 01 - 01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอินดรา หามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออกในชุมชนตำบลยะลา ”
ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอินดรา หามะ
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67 - L4138 – 01 - 01 เลขที่ข้อตกลง 004/67
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 พฤศจิกายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออกในชุมชนตำบลยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออกในชุมชนตำบลยะลา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออกในชุมชนตำบลยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67 - L4138 – 01 - 01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 พฤศจิกายน 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
“โรคไข้เลือดออก” เป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศมานาน และในแต่ละปีจากอัตราการป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกเพิ่มเป็นจำนวนมากขึ้นเรื่อย ๆ “โรคไข้เลือดออก” เป็นโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค “ยุงลาย” จะมีนิสัยชอบออกหากินในเวลากลางวันและจะเพาะพันธุ์ตามแหล่งเพาะพันธุ์ในธรรมชาติ และแหล่งเพาะพันธุ์ที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น โพรงไม้ โพรงหิน กระบอกไม้ไผ่ ยางรถยนต์ รางระบายน้ำที่อุดตัน ถ้วยรองน้ำยางพาราที่ไม่ใช้แล้ว เป็นต้น ดังนั้น การกำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย จึงเป็นเรื่องสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการป้องกันและยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
จากข้อมูลสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย ของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่เดือน มกราคม ถึง 23 ตุลาคม 2566 พบผู้ป่วยไข้เลือดออกพื้นที่จังหวัดยะลา จำนวน 1,057 ราย และตำบลยะลาพบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 6 ราย ซึ่งมากกว่าปีที่ผ่านในช่วงเวลาเดียวกัน และจากการพิจารณาพื้นที่อำเภอที่เสี่ยงสูงที่มีการระบาดซ้ำซากในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา พบว่ามีจำนวนทั้งสิ้น 308 อำเภอ จาก 928 อำเภอจากทั่วประเทศ ซึ่งอำเภอเมืองยะลาจัดอยู่ในอำเภอที่เสี่ยงสูงของการระบาดของโรคไข้เลือดออกเช่นกัน
ในการนี้ ทางสำนักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลยะลา ได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออกที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในชุมชน พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนโดยเน้นให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม และถือเป็นภารกิจสำคัญที่ทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องช่วยกันกระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อฟื้นฟูความรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับการฉีดพ่นหมอกควันให้กับเจ้าหน้าที่ อบต.ยะลา ทีมฉีดพ่นหมอกควัน และประชาชนที่สนใจ
- เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในชุมชน
- เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในกรณีที่พบผู้ป่วยในพื้นที่ได้อย่างเหมาะสมแลทันท่วงที
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- รณรงค์ประชาสัมพันธ์
- ป้องกันและควบคุมโรค
- การรณรงค์ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดยการแจกแผ่นพับ และป้ายไวนิลรณรงค์ประชาสัมพันธ์
- อบรมฟื้นฟูความรู้และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการฉีดพ่นหมอกควัน
- กิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยออกทำการฉีดพ่นหมอกควันเพื่อป้องกันโรคในพื้นที่ตำบลยะลาอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และฉีดพ่นควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลยะลา
- ประชาชนในพื้นที่มีความตระหนักเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาไข้เลือดออก โดยประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมรอบบริเวณบ้านให้เอื้อต่อการป้องกันโรค
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การรณรงค์ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดยการแจกแผ่นพับ และป้ายไวนิลรณรงค์ประชาสัมพันธ์ |
||
วันที่ 20 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำการรณรงค์ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดยการแจกแผ่นพับ และป้ายไวนิลรณรงค์ประชาสัมพันธ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออกในพื้นที่โดยการประชาสัมพันธ์เสียงตามสาย มีการดำเนินการแจกแผ่นพับ โลชั่นทากันยุง และทรายอะเบท บูรณาการร่วมกับเจ้าหน้าที่รพ.สต.บ้านยะลาและอสม.ตำบลยะลา
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยออกทำการฉีดพ่นหมอกควันเพื่อป้องกันโรคในพื้นที่ตำบลยะลาอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และฉีดพ่นควบคุมการแพร่ระบาดของโรค |
||
วันที่ 23 พฤศจิกายน 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
3. อบรมฟื้นฟูความรู้และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการฉีดพ่นหมอกควัน |
||
วันที่ 25 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำเปิดการอบรม โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออกในชุมชน ตำบลยะลา อบรมให้ความรู้เรื่อง - โรคไข้เลือดออกและการป้องกันโรค - ขั้นตอนการเตรียมความพร้อมก่อนการพ่นหมอกควัน และการคำนวณปริมาณน้ำยาที่ใช้ในการพ่นควบคุมป้องกันโรค - การเตรียมพื้นที่ - การปฏิบัติในการพ่นหมอกควัน ฝึกปฏิบัติการฉีดพ่นหมอกควัน หลักการทำงานเครื่องพ่น และการ บำรุงรักษาเครื่องพ่น ให้มีอายุการใช้งานได้ยาวนานขึ้น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นดำเนินการอบรมทบทวนให้ความรู้และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการฉีดพ่นหมอกควันให้กับเจ้าหน้าที่ อบต.ยะลา ทีมฉีดพ่นหมอกควัน และประชาชนที่สนใจ จำนวน 10 คน และส่งผลให้คณะทำงานมีการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องในการฉีดพ่นหมอกควันเพื่อป้องกันและควบคุมที่เกิดจากยุง
|
10 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อฟื้นฟูความรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับการฉีดพ่นหมอกควันให้กับเจ้าหน้าที่ อบต.ยะลา ทีมฉีดพ่นหมอกควัน และประชาชนที่สนใจ ตัวชี้วัด : เจ้าหน้าที่ อบต.ยะลา ทีมฉีดพ่นหมอกควัน และประชาชนที่สนใจมีความรู้ละสามารถปฏิบัติเกี่ยวกับการฉีดพ่นหมอกควัน |
100.00 | 100.00 |
|
|
2 | เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตัวชี้วัด : ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในชุมชน |
80.00 | 90.00 |
|
|
3 | เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในกรณีที่พบผู้ป่วยในพื้นที่ได้อย่างเหมาะสมแลทันท่วงที ตัวชี้วัด : สามารถป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในกรณีที่พบผู้ป่วยในพื้นที่ได้อย่างเหมาะสมแลทันท่วงที |
100.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฟื้นฟูความรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับการฉีดพ่นหมอกควันให้กับเจ้าหน้าที่ อบต.ยะลา ทีมฉีดพ่นหมอกควัน และประชาชนที่สนใจ (2) เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในชุมชน (3) เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในกรณีที่พบผู้ป่วยในพื้นที่ได้อย่างเหมาะสมแลทันท่วงที
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ (3) ป้องกันและควบคุมโรค (4) การรณรงค์ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดยการแจกแผ่นพับ และป้ายไวนิลรณรงค์ประชาสัมพันธ์ (5) อบรมฟื้นฟูความรู้และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการฉีดพ่นหมอกควัน (6) กิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยออกทำการฉีดพ่นหมอกควันเพื่อป้องกันโรคในพื้นที่ตำบลยะลาอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และฉีดพ่นควบคุมการแพร่ระบาดของโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์ ควบคุม และป้องกันไข้เลือดออกในชุมชนตำบลยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67 - L4138 – 01 - 01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอินดรา หามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......