กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านปากทุ่ง ”

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
ชมรมผู้สูงอายุบ้านปากทุ่ง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านปากทุ่ง

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L8287-3-1 เลขที่ข้อตกลง 6/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านปากทุ่ง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านปากทุ่ง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านปากทุ่ง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L8287-3-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ นับแต่ปี พ.ศ.2543 เป็นต้นมา โดย1 ใน 10 ของประชากรไทยเป็นประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป และคาดว่าประเทศไทยจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ในปี พ.ศ.2564 คือประชากรสูงอายุจะมีถึง 1 ใน 5 และเป็น”สังคมสูงวัยระดับสุดยอด”โดยประมาณการว่าจะมีประชากรผู้สูงอายุ เพิ่มเป็นร้อยละ 30 ของประชากรทั้งหมด และในปัจจุบันผู้สูงอายุส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 85 ของจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด คือ ผู้สูงอายุที่สามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่ต้องพึ่งผู้อื่น(กลุ่มติดสังคม) อีกร้อยละ 14 เป็นผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งผู้อื่นบ้างในการประกอบกิจวัตรประจำวัน(กลุ่มติดบ้าน) และต้องพึ่งพาผู้อื่นทั้งหมดร้อยละ 1 ซึ่งอายุมากกว่า 80 ปี และมีแนวโน้มสัดส่วนการเพิ่มขึ้นของกลุ่มนี้มากขึ้นเรื่อยๆ     แม้ว่าประชากรไทยมีอายุยืนยาวขึ้น แต่พบว่าผู้สูงอายุต้องเผชิญกับการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังและตกอยู่ในภาวะทุพพลภาพเพิ่มขึ้น โดยพบว่า ผู้สูงอายุไทยมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพียงร้อยละ 26 เท่านั้นและร้อยละ 95 ของผู้สูงอายุจะมีปัญหาสุขภาพโดยมีความเจ็บปวดด้วยโรคความดันโลหิตสูงมากที่สุด (ร้อยละ 41) รองลงมาคือเบาหวาน ภาวะสมองเสื่อม ข้อเสื่อมและซึมเศร้าตามลำดับ ดังนั้นหากปล่อยให้เป็นเช่นนี้จะส่งผลกระทบต่อทั้งตัวผู้สูงอายุเอง ครอบครัว รวมถึงภาครัฐที่ต้องใช้งบประมาณจำนวนมหาศาลเพื่อใช้จ่ายในการดูแลรักษาสุขภาพ ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องมีการเฝ้าดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องตลอดจนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม   กลุ่มหรือชมรมผู้สูงอายุในระดับหมู่บ้านหรือชุมชนถือเป็นกลไกสำคัญที่มีบทบาทสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพให้แก่ผู้สูงอายุ เนื่องจากมีความใกล้ชิด เข้าใจสภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุ รวมถึงสามารถเข้าถึงและพัฒนาผู้สูงอายุในชุมชนได้ดีที่สุด แต่ในปัจจุบันกลับพบว่ากลุ่มหรือชมรมผู้สูงอายุในบางพื้นที่ยังขาดความเข้มแข็งในการดำเนินงานเพื่อสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจและสังคม กล่าวคือบางกลุ่มเพิ่งอยู่ในระยะเริ่มต้นของการรวมตัว หรือบางกลุ่มแม้จะมีการรวมตัวกันมานานแล้วแต่ขาดการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่องให้แก่ผู้สูงอายุในชุมชน   สำหรับชมรมผู้สูงอายุหมู่ 8 ตำบลเทพา เป็นชมรมที่จัดตั้งขึ้นตั้งแต่พ.ศ.2562 จากข้อมูลผู้สูงอายุตำบลเทพาในเขตรับผิดชอบของคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวศูนย์ 1 มีจำนวนทั้งหมด 1,257 คน เป็นผู้สูงอายุของหมู่ 8 ตำบลเทพา 156 คน และในปัจจุบันมีกิจกรรมที่ดำเนินมาแล้วดังนี้ การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุและการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ จากการดำเนินงานที่ผ่านมาพบว่า ยังมีอุปสรรคและต้องการการพัฒนาเพื่อสร้างเสริมความเข้มแข็งแก่กลุ่มชมรมผู้สูงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อม ได้รับการส่งต่อเพื่อการดูแลโดยแพทย์แผนไทย
  3. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องโรคหลอดเลือดสมอง
  4. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมกิจกรรมตามแผน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมจิตอาสาเยี่ยมบ้านเยี่ยมใจ
  2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 5 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ชมรมผู้สูงอายุมีความเข้มแข็งในการดำเนินกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ 2.ผู้สูงอายุในชุมชนมีความรอบรู้เรื่องการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและโรคหลอดเลือดหัวใจ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นร้อยละ 100

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อม ได้รับการส่งต่อเพื่อการดูแลโดยแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อม ได้รับการส่งต่อเพื่อการดูแลโดยแพทย์แผนไทยร้อยละ 80

 

3 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องโรคหลอดเลือดสมอง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องโรคหลอดเลือดสมองร้อยละ 80

 

4 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมกิจกรรมตามแผน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในกิจกรรมร้อยละ 100

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อม ได้รับการส่งต่อเพื่อการดูแลโดยแพทย์แผนไทย (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เรื่องโรคหลอดเลือดสมอง (4) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมกิจกรรมตามแผน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมจิตอาสาเยี่ยมบ้านเยี่ยมใจ (2) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 5 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบ้านปากทุ่ง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L8287-3-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมผู้สูงอายุบ้านปากทุ่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด