กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการคัดแยกขยะ โรงเรียนสะอาด ปราศจากโรคภัย ”
โรงเรียนบ้านลำชิง ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาเส๊าะ สาแหม




ชื่อโครงการ โครงการคัดแยกขยะ โรงเรียนสะอาด ปราศจากโรคภัย

ที่อยู่ โรงเรียนบ้านลำชิง ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5196-02-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดแยกขยะ โรงเรียนสะอาด ปราศจากโรคภัย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านลำชิง ตำบลคลองทราย อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดแยกขยะ โรงเรียนสะอาด ปราศจากโรคภัย



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) นักเรียนที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถคัดแยกขยะได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในเรื่องการคัดแยกขยะ (2) กิจกรรมคัดแยกขยะ (3) กิจกรรมธนาคารขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ปัญหา/อุปสรรค - นักเรียนยังทิ้งขยะไม่ถูกต้องตามสีของถังขยะและนักเรียนบางส่วนยังไม่เห็นความสำคัญของการทิ้งขยะลงถัง แนวทางแก้ไข - สร้างเจตคติที่ดีกับนักเรียนในการทิ้งขยะให้ลงถังขยะ , สร้างความร่วมมือกันระหว่างผู้ปกครองและครอบครัวให้เห็นความสำคัญของการทิ้งขยะลงในถังขยะอละการคัดแยกขยะ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะมูลฝอยชเป็นปัญหาสำคัญทั้งปัญหาระดับประเทศ สาเหตุเนื่องมาจากประชากรในประเทศเพิ่มจำนวนมากขึ้น สถานประกอบการต่างๆ มีมากขึ้น และสิ่งที่ไม่สามารถเลี่ยงได้ คือ ขยะมูลฝอยมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วย จนกระทั้งการกำจัดขยะมูลฝอยไม่สมดุลกับจำนวนขยะมูลฝอย จึงมีขยะมูลฝอยที่เหลือตกค้างรอการกำจัดอยู่เป็นจำนวนมาก แม้จะมีพื้นที่ที่จัดไว้เพื่อรับรองขยะแต่ก็ไม่เพียงพอกับปริมาณขยะมูลฝอยที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วสร้างปัญหาเป็นอย่างมากทั้งทางด้านวิสัยทัศน์ กลิ่น ความสะอาดและอาจก่อให้เกิดปัญหาขยะล้นเมืองในหลายพื้นที่ของประเทศไทย
ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเสนอให้กระทรวงทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมร่วมกับกระทรวงมหาดไทย ได้กำนด หลัก 3 RS คือการใช้น้อยใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่ โดยมีเป้าหมายเพื่อลดปริมาณการเกิดขยะมูลฝอยในภาพรวมของประเทศลดลง ทำให้กำหนดให้มีการพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเป็นการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้มีความสมบูรณ์ ยั่งยืน ตามแนวทางอนุรักษ์ ฟื้นฟูพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพิ่มความสามารถในการบริหารจัดการขยะ และรณรงค์ในทุกภาคส่วนร่วมสำนึกรับผิดชอบต่อสังคมเกี่ยวกับการลดปริมาณขยะซึ่งเป็นแนวทางในการดำเนินทานที่สอดคล้องกันทุกระดับ
โรงเรียนบ้านลำชิง อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จึงได้ดำเนินการโครงการคัดแยกขยะขึ้นเพื่อเป็น การกระตุ้นและส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. นักเรียนที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถคัดแยกขยะได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในเรื่องการคัดแยกขยะ
  2. กิจกรรมคัดแยกขยะ
  3. กิจกรรมธนาคารขยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 240
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คุณครู 15

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนโรงเรียนบ้านลำชิง สามารถคัดแยกขยะ นำขยะกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่
    และปริมาณขยะในโรงเรียนลดลง 2.นักเรียนโรงเรียนบ้านลำชิง มีระบบการจัดการขยะอย่างถูกวิธี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมคัดแยกขยะ

วันที่ 29 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมคัดแยกขยะ เป็นกิจกรรมที่มีการจัดซื้อถังขยะสีเขียว สีแดง สีน้ำเงินและสีเหลือง จำนวนถังละ 2 ชุด เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนจัดการคัดแยกขยะ และทิ้งขยะลงในถังขยะได้ถูกต้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนสามารถคัดแยกขยะ และทิ้งขยะลงในถังสีได้ถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 65

 

0 0

2. กิจกรรมธนาคารขยะ

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมธนาคารขยะ เป็นการจัดกิจกรรมที่ให้นักเรียนดำเนินการจัดทำบัญชีจากการนำขยะรีไซเคิลที่ได้จากการรับซื้อในโรงเรียนนำไปขายต่อให้กับผู้รับซื้อและดำเนินการจัดทำบัญชีรายรับ - รายจ่าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถลดจำนวนขยะในโรงเรียนได้

 

0 0

3. กิจกรรมที่ 1 การอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในเรื่องการคัดแยกขยะ

วันที่ 16 สิงหาคม 2567 เวลา 12:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

การอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในเรื่องการคัดแยกขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียน คุณครูและผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถคัดแยกขยะได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • ครู นักเรียนและบุคลากรโรงเรียนบ้านลำชิง สามารถคัดแยกขยะ นำขยะกลับไปใช้ประโยชน์ใหม่และปริมาณขยะในโรงเรียนลดลง
  • ครู นักเรียนและบุคลากรโรงเรียนบ้านลำชิง มีระบบการจัดการขยะอย่างถูกวิธี

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 นักเรียนที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถคัดแยกขยะได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละของจำนวนนักเรียนที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถคัดแยกขยะได้ถูกต้อง
240.00 75.00 79.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 255 255
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 240 240
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คุณครู 15 15

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) นักเรียนที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถคัดแยกขยะได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ในเรื่องการคัดแยกขยะ (2) กิจกรรมคัดแยกขยะ (3) กิจกรรมธนาคารขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ ปัญหา/อุปสรรค - นักเรียนยังทิ้งขยะไม่ถูกต้องตามสีของถังขยะและนักเรียนบางส่วนยังไม่เห็นความสำคัญของการทิ้งขยะลงถัง แนวทางแก้ไข - สร้างเจตคติที่ดีกับนักเรียนในการทิ้งขยะให้ลงถังขยะ , สร้างความร่วมมือกันระหว่างผู้ปกครองและครอบครัวให้เห็นความสำคัญของการทิ้งขยะลงในถังขยะอละการคัดแยกขยะ

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดแยกขยะ โรงเรียนสะอาด ปราศจากโรคภัย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5196-02-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาเส๊าะ สาแหม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด