โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาทักษะการคัดกรองภาวะเสี่ยงเพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาทักษะการคัดกรองภาวะเสี่ยงเพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567 ”
เทศบาลเมืองพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสุจิตรา รัชสิทธิ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาทักษะการคัดกรองภาวะเสี่ยงเพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567
ที่อยู่ เทศบาลเมืองพัทลุง จังหวัด
รหัสโครงการ 2567-L7572-01-023 เลขที่ข้อตกลง 24/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาทักษะการคัดกรองภาวะเสี่ยงเพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลเมืองพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาทักษะการคัดกรองภาวะเสี่ยงเพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาทักษะการคัดกรองภาวะเสี่ยงเพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลเมืองพัทลุง รหัสโครงการ 2567-L7572-01-023 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,230.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาสมรรถนะ อสม.ให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน
- เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแล มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการป้องกันภาวะพลัดตกหกล้ม
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่ออุบัติเหตุการหกล้ม
- เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้รับการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ
- ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ
- จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม. เพื่อพัฒนากลไกการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ
- การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน ให้แก่ผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
1,716
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความสามารถในการป้องกันภาวะพลัดตกหกล้มได้
- ผู้สูงอายุมีภาวะเสี่ยงต่ออุบัติเหตุพลัดตกหกล้มลดลง
- ผู้สูงอายุที่พบความผิดปกติได้รับการดูแลรักษาและส่งต่อตามเกณฑ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม. เพื่อพัฒนากลไกการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ
วันที่ 11 มิถุนายน 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม. เพื่อพัฒนากลไกการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและติดตามประเมินผล วิทยากร โดย พญ.กชกร ดลยพัชร์ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว รพ.พัทลุง และคุณวินิจ อินพรหม นักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อสม. มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน และส่งเสริมสุขภาพผูัสูงอายุ ได้ทุกคน จำนวน 42 คน
40
0
2. การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน ให้แก่ผู้สูงอายุ
วันที่ 18 มิถุนายน 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ การวิคราะห์ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม เพื่อป้องกันภาวะพลัดตกหกล้ม วิทยากร โดย พญ.กชกร ดลยพัชร์ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว รพ.พัทลุง และคุณวินิจ อินพรหม นักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- อสม. ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ มีความรู้ความสามารถในการป้องกันการเกิดภาวะพลัดตกหกล้มได้ ทุกคน จำนวน 43 คน
- ผลการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน ให้แก่ผู้สูงอายุ ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 จำนวนผู้สูงอายุเป้าหมาย 1,716 คน ผลงานคัดกรองภาวะหกล้ม (คน) 1,621 คน คิดเป็น ร้อยละ 94.5
ผลการคัดกรองปกติ 1,586 คน คิดเป็น ร้อยละ 97.86
ผลการคัดกรองผิดปกติ 35 คน คิดเป็น ร้อยละ 2.14
0
0
3. ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ
วันที่ 21 มิถุนายน 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
อสม.ร่วมกับเจ้าหน้าที่ประจำชุมชน ติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุ ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่พบภาวะเสี่ยง เพื่อประเมินสิ่งแวดล้อม และร่วมหาทางแก้ไขภาวะเสี่ยง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เจ้าหน้าที่และ อสม. ได้ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่พบภาวะเสี่ยงต่ออุบัติเหตุหกล้ม จำนวน 42 คน และร่วมหาแนวทางแก้ไข ร้อยละ 100 โดยให้ข้อเสนอแนะ เช่น
- ปรับปรุงห้องน้ำให้มีราวกั้น
- ปรับพื้นประตูต่างระดับ ให้มีระดับเดียวกัน
- ปรับปรุงพื้นที่รอบบ้านให้สะอาด และสะดวก ไม่มีสิ่งกีดขวาง
ผู้สูงอายุมีภาวะเสี่ยงต่ออุบัติเหตุมีจำนวนลดลงจากเดิมร้อยละ 4.42 เป็นร้อยละ 2.14
ผู้สูงอายุและผู้ดูแล สามารถดูแลตนเองและผู้สูงอายุ เพื่อป้องกันหรือลดภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพในผู้สูงอายุได้
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อพัฒนาสมรรถนะ อสม.ให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน
ตัวชี้วัด : อสม. มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน ได้ถูกต้อง
0.00
40.00
42.00
2
เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแล มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการป้องกันภาวะพลัดตกหกล้ม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุและผู้ดูแล มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการป้องกันภาวะพลัดตกหกล้ม
0.00
40.00
43.00
3
เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่ออุบัติเหตุการหกล้ม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่ออุบัติเหตุการหกล้ม มีจำนวนลดลง อย่างน้อย ร้อยละ 20
42.00
34.00
32.00
4
เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้รับการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน อย่างน้อย ร้อยละ 90
0.00
90.00
97.86
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1716
1621
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
1,716
1,621
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาสมรรถนะ อสม.ให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแล มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการป้องกันภาวะพลัดตกหกล้ม (3) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่ออุบัติเหตุการหกล้ม (4) เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้รับการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ (2) ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ (3) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม. เพื่อพัฒนากลไกการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ (4) การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน ให้แก่ผู้สูงอายุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
อสม.และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขไม่สามารถให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุที่พบภาวะเสี่ยงพลัดตกหกล้มได้อย่างเต็มที่
ข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อมและที่อยู่อาศัย
ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ให้ได้มากที่สุด และประสานผู้ดูแล เช่น ปรับปรุงห้องน้ำให้มีราวกั้น ปรับพื้นประตูต่างระดับให้มีระดับเดียวกัน ปรับปรุงพื้นที่รอบบ้านให้สะดวก สะอาด
โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาทักษะการคัดกรองภาวะเสี่ยงเพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567 จังหวัด
รหัสโครงการ 2567-L7572-01-023
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุจิตรา รัชสิทธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาทักษะการคัดกรองภาวะเสี่ยงเพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567 ”
เทศบาลเมืองพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสุจิตรา รัชสิทธิ์
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ เทศบาลเมืองพัทลุง จังหวัด
รหัสโครงการ 2567-L7572-01-023 เลขที่ข้อตกลง 24/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาทักษะการคัดกรองภาวะเสี่ยงเพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลเมืองพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาทักษะการคัดกรองภาวะเสี่ยงเพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาทักษะการคัดกรองภาวะเสี่ยงเพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลเมืองพัทลุง รหัสโครงการ 2567-L7572-01-023 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,230.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อพัฒนาสมรรถนะ อสม.ให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน
- เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแล มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการป้องกันภาวะพลัดตกหกล้ม
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่ออุบัติเหตุการหกล้ม
- เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้รับการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ
- ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ
- จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม. เพื่อพัฒนากลไกการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ
- การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน ให้แก่ผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 1,716 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความสามารถในการป้องกันภาวะพลัดตกหกล้มได้
- ผู้สูงอายุมีภาวะเสี่ยงต่ออุบัติเหตุพลัดตกหกล้มลดลง
- ผู้สูงอายุที่พบความผิดปกติได้รับการดูแลรักษาและส่งต่อตามเกณฑ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม. เพื่อพัฒนากลไกการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ |
||
วันที่ 11 มิถุนายน 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม. เพื่อพัฒนากลไกการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและติดตามประเมินผล วิทยากร โดย พญ.กชกร ดลยพัชร์ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว รพ.พัทลุง และคุณวินิจ อินพรหม นักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอสม. มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน และส่งเสริมสุขภาพผูัสูงอายุ ได้ทุกคน จำนวน 42 คน
|
40 | 0 |
2. การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน ให้แก่ผู้สูงอายุ |
||
วันที่ 18 มิถุนายน 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดอบรมพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ การวิคราะห์ปรับปรุงสิ่งแวดล้อม เพื่อป้องกันภาวะพลัดตกหกล้ม วิทยากร โดย พญ.กชกร ดลยพัชร์ แพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว รพ.พัทลุง และคุณวินิจ อินพรหม นักวิชาการสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
3. ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ |
||
วันที่ 21 มิถุนายน 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำอสม.ร่วมกับเจ้าหน้าที่ประจำชุมชน ติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุ ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่พบภาวะเสี่ยง เพื่อประเมินสิ่งแวดล้อม และร่วมหาทางแก้ไขภาวะเสี่ยง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ปรับปรุงห้องน้ำให้มีราวกั้น - ปรับพื้นประตูต่างระดับ ให้มีระดับเดียวกัน - ปรับปรุงพื้นที่รอบบ้านให้สะอาด และสะดวก ไม่มีสิ่งกีดขวาง
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาสมรรถนะ อสม.ให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน ตัวชี้วัด : อสม. มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน ได้ถูกต้อง |
0.00 | 40.00 | 42.00 |
|
2 | เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแล มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการป้องกันภาวะพลัดตกหกล้ม ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุและผู้ดูแล มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการป้องกันภาวะพลัดตกหกล้ม |
0.00 | 40.00 | 43.00 |
|
3 | เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่ออุบัติเหตุการหกล้ม ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่ออุบัติเหตุการหกล้ม มีจำนวนลดลง อย่างน้อย ร้อยละ 20 |
42.00 | 34.00 | 32.00 |
|
4 | เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้รับการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน อย่างน้อย ร้อยละ 90 |
0.00 | 90.00 | 97.86 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1716 | 1621 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 1,716 | 1,621 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาสมรรถนะ อสม.ให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแล มีทักษะ ความรู้ ความสามารถในการป้องกันภาวะพลัดตกหกล้ม (3) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่ออุบัติเหตุการหกล้ม (4) เพื่อให้ผู้สูงอายุ ได้รับการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุ (2) ติดตามเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ (3) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม. เพื่อพัฒนากลไกการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ (4) การคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 9 ด้าน ให้แก่ผู้สูงอายุ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
อสม.และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขไม่สามารถให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุที่พบภาวะเสี่ยงพลัดตกหกล้มได้อย่างเต็มที่ |
ข้อจำกัดด้านสิ่งแวดล้อมและที่อยู่อาศัย |
ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่ให้ได้มากที่สุด และประสานผู้ดูแล เช่น ปรับปรุงห้องน้ำให้มีราวกั้น ปรับพื้นประตูต่างระดับให้มีระดับเดียวกัน ปรับปรุงพื้นที่รอบบ้านให้สะดวก สะอาด |
โครงการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาทักษะการคัดกรองภาวะเสี่ยงเพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ศูนย์แพทย์ชุมชนดอนยอ ปี 2567 จังหวัด
รหัสโครงการ 2567-L7572-01-023
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุจิตรา รัชสิทธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......