กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 ข้อที่๑. เพื่อพัฒนาและส่งเสริมสุขภาพเด็กให้มีความสมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและจิตใจในช่วงอายุ ๑,๐๐๐วัน – ๒,๕๐๐วันแรกของชีวิต จำนวน ...๔๐..คน
ตัวชี้วัด : ๑.หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางน้อยกว่าร้อยละ ๑๐ ๒..ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักตัว น้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม ร้อยละ ๗ ๓.หญิงตั้งครรภ์หลังคลอด / ทารกหลังคลอด ตามเกณฑ์ ๓ ครั้ง ร้อยละ ๑๐๐

 

 

 

2 ข้อที่๒. อบรม แกนนำสุขภาพครอบครัว เพื่อทำความเข้าใจในการประชาสัมพันธ์หญิงตั้งครรภ์ในหมู่บ้านฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ ฝากครรภ์อย่างต่อเนื่อง และเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ พัฒนาการของเด็กตามขบวนการ และ การได้รับวัคซีน การได้รับยาเสริมธาตุเหล็กในเด็กตั้งแต่ช่วง อายุ ๖ เดือน - ๕ ปี จำนวน ๔๐ คน
ตัวชี้วัด : ๑. แกนนำสุขภาพครอบครัวมีความรู้ และทักษะในการคัดกรองสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ ความรู้เรื่องภาวะโลหิตจาง ความรู้เรื่อการส่งเสริมพัฒนาการ ร้อยละ ๑๐๐ ๒.หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีนตลอดการตั้งครรภ์ ร้อยละ ๑๐๐

 

 

 

3 ข้อที่๓. เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมสุขภาพเด็กให้ครอบครัว ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลและเอาใจใส่สุขภาพของสตรีตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด -๕ ปี
ตัวชี้วัด : ๑.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ ร้อยละ ๑๐๐ ๒.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์คุณภาพครบ ๕ ครั้ง ตามเกณฑ์ มากกว่า ร้อยละ ๙๐

 

 

 

4 ข้อที่๔. เพื่อบรูณาการงานและสร้างความร่วมมือจากครอบครัว ภาคีเครือข่ายและองค์กรต่างๆในการพัฒนาสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด – ๕ ปี
ตัวชี้วัด : ๑.เด็กปฐมวัยในเด็กช่วงอายุ ๖ เดือน - ๑ ปี และ เด็กก่อนประถมวัย ช่วงอายุ ๓ - ๕ ปี ได้ตรวจคัดกรองความเข้มข้นเลือดเพื่อป้องกันโรคภาวะโลหิตจางร้อยละ ๑๐๐

 

 

 

5 ข้อที่๕. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัย ภาวะโภชนาการ สุขภาวะโลหิตจาง จำนวน ๒๔๗ คน
ตัวชี้วัด : ๑.เด็กในช่วงอายุ ๖ เดือน – ๕ ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโภชนาการ สุขภาวะโลหิตจาง ร้อยละ ๑๐๐

 

 

 

6 ข้อที่๖. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการตามช่วงวัยจำนวน ๑๐๐ คน
ตัวชี้วัด : ๑.เด็กปฐมวัยช่วงอายุ ๙,๑๘,๓๒,๔๒,๖๐ เดือน ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ ร้อยละ ๑๐๐