โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ประจำปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ประจำปีงบประมาณ 2567 ”
หัวหน้าโครงการ
นางจิณณพัต ทองพุด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ประจำปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 2567-L7572-01-007 เลขที่ข้อตกลง 8/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ประจำปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปากและอื่นๆ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์และสื่อประชาสัมพันธ์ในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อต่างๆ (2) อบรม แกนนำชุมชนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) พ่นหมอกควันกำจัดยุง
และสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลาย
ปี 2567 (นับตั้งแต่ ม.ค -31 ส.ค)
-อัตราป่วยของโรคสำคัญๆ ที่ต้องเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการระบาดของโรค มีแนวโน้มลงลดลงเรื่อยๆ เมื่อเทียบกับ ปี 2566 ประกอบด้วย โรคไข้หวัดใหญ่ พบผู้ป่วย 169 ราย,โรคปอดบวม พบผู้ป่วย 47 ราย,
โรคไข้เลือดออก พบผู้ป่วย 53 ราย ,โรคอาหารเป็นพิษ พบผู้ป่วย 16 ราย ,โรคมือเท้าปาก พบผู้ป่วย 17 ราย
มีการจัดซื้อเครื่องพ่นหมอกควันกำจัดยุง จำนวน 2 เครื่อง เชิญแกนนำชุมชนเข้าร่วมอบรม จำนวน 65 ท่าน เข้าร่วมอบรม จำนวน 61 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 93.8
ประโยชน์ที่ได้จากการอบรม อยู่ในระดับมากที่สุดร้อยละ 49.18 ระดับดีร้อยละ 47.57 ระดับปานกลางร้อยละ 3.28
แกนนำชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และนำทักษะที่ได้รับจากการอบรมในครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานสอบสวนโรคไข้เเลือดออก อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 50.82 ระดับดีร้อยละ 44.26 ระดับปานกลางร้อยละ 4.92
เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานพ่นหมอกควันกำจัดยุงมีความรู้ในการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน โทษ และประโยชน์ ของเครื่องพ่นหมอกควันเพิ่มมากขึ้น
มีและใช้วัสดุอุปกรณ์และสื่อประชาสัมพันธ์ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อต่างๆ ร้อยละ 80
แผ่นพับความรู้ และสื่อประชาสัมพันธ์ สามารถเข้าถึงนักเรียนในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง และประชาชนทั่วไป ได้อย่างทั่วถึง ร้อยละ 80
การลงพื้นที่สุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลายและการพ่นหมอกควันกำจัดยุงทั้งในโรงเรียน/วัด/ชุมชน
สามารถตัดวงจรชีวิตของยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี แกนนำชุมชนและประชาชนให้ความร่วมมือ และตื่นตัวมากขึ้น
ในการเฝ้าระวัง ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อต่างๆ มากกว่า ร้อยละ 80
ผลการดำเนินงานก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและชุมชน
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถิติผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566 ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง พบผู้ป่วย จำนวน 120 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.38 เทียบกับจำนวนประชากร (31,388 ราย) สุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลาย ในชุมชน 47 ครั้ง พบค่า HI โดยเฉลี่ยร้อยละ 14.03 ค่า CI ร้อยละ 11.06 (HI และ CIไม่ควรเกินร้อยละ10) ในโรงเรียนสุ่มสำรวจ 55 ครั้ง พบค่า CI โดยเฉลี่ยร้อยละ 6.26 (ค่า CI ควรเป็น 0) ในวัดสุ่มสำรวจ 23 ครั้ง พบค่า CI โดยเฉลี่ยร้อยละ 12.27 (ค่า CI ควรเป็น 0) พ่นหมอกควันกำจัดยุงปี 2566 จำนวน 165 ครั้ง แบ่งเป็น ชุมชน 102 ครั้ง โรงเรียน32ครั้ง วัด 1 ครั้ง และคำร้องทั่วไป 30ครั้ง และโรคติดต่ออื่นๆ ประกอบด้วยโรคมือ เท้า ปาก 31 ราย โรคตาแดงในโรงเรียน 13 ราย โรคเลปโตสไปโรสิส 3 ราย โรคมาลาเรีย 1 ราย โรคระบบทางเดินอาหาร 15ราย โรคชิคุณกุนยา 1 ราย และอาหารเป็นพิษ 7 ราย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปากและอื่นๆ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์และสื่อประชาสัมพันธ์ในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อต่างๆ
- อบรม แกนนำชุมชนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก
- พ่นหมอกควันกำจัดยุงและสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
31,388
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผลการดำเนินงานก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและชุมชน
2.มีวัสดุอุปกรณ์เพียงพอในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ
3.สื่อประชาสัมพันธ์สามารถเข้าถึงประชาชน
4.แกนนำชุมชนมีความรู้ในการสอบสวนโรคไข้เลือดออก
5.ชุมชน/โรงเรียนได้รับการพ่นหมอกควันกำจัดยุงเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
6.มีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน/วัด/ชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์และสื่อประชาสัมพันธ์ในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อต่างๆ
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
วางแผน
1.จัดหาวัสดุ อุกรณ์ ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อต่างๆ
2.จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ แผ่นพับความรู้เรื่องโรคติดต่อต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคมือ เท้า ปาก
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1.จัดซื้อวัสดุ อุกรณ์ ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อต่างๆ
2.ทำสื่อประชาสัมพันธ์ แผ่นพับความรู้โ รคไข้เลือดออก โรคมือ เท้า ปาก
ผลลัพธ์
- กิจกรรมการจัดซื้อ จัดจ้างวัสดุอุปกรณ์ มีการจัดซื้อ ทรายอะเบท จำนวน 5 ถัง โลชั่นทากันยุง จำนวน 1,000 ซอง ยาพ่นยุง จำนวน 10 ขวด สเปร์พ่นยุงแบบกระป๋อง จำนวน 200 กระป๋อง หน้ากากอนามัย จำนวน 10 กล่อง ถุงมือ เบอร์ s จำนวน 10 กล่อง เบอร์
m จำนวน 15 กล่อง น้ำยาฆ๋าเชื้อ จำนวน 10 ขวด สเปร์แอลกอฮอล์ จำนวน 100 ขวด หมวกตัวหนอน จำนวน 300 ชิ้น ไฟฉาย จำนวน 10 กระบอก อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่จัดซื้อนำมาใช้ในการลงสอบสวนโรค เช่น โรคมือ เท้า ปาก ในโรงเรียน การให้ความรู้
สุขศึกษาและอนามัยในโรงเรียน และสื่อประชาสัมพันธ์
- ได้จัดทำแผ่นพับความรู้ เรื่อง โรคไข้เลือดออก โรคมือ เท้า ปาก จำนวน 3,000 แผ่น เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้กับประชาชนทั่วไป และนักเรียนในโรงเรียน ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ให้ทันกับ
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก และโรคติดต่อต่างๆ
3 มีและใช้วัสดุอุปกรณ์และสื่อประชาสัมพันธ์ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อต่างๆ ร้อยละ 80
4 แผ่นพับความรู้ และสื่อประชาสัมพันธ์ สามารถเข้าถึงนักเรียนในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง และประชาชนทั่วไป ได้อย่างทั่วถึง ร้อยละ 80
0
0
2. อบรม แกนนำชุมชนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก
วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
1.จัดหาสเปคเครื่องพ่นยุง
2.ประสานงานวิทยากร/ผู้เข้าร่วมประชุม กลุ่มเป้าหมาย
3.จัดการอบรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
1.จัดซื้อเครื่องพ่นยุง
2.จัดการอบรม
ผลลัพธิ์
1.จัดซื้อเครื่องพ่นหมอกควันกำจัดยุง ชนิกสะพายไหล่ จำนวน 2 เครื่อง
2.อบรมแกนนำชุมชน เชิญผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 65 ท่าน เข้าร่วมอบรม จำนวน 61 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 93.8
3.แกนนำชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และนำทักษะที่ได้รับจากการอบรมในครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในการสอบสวนโรคไขเเลือดออก อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 50.8 ระดับดีร้อยละ 44.2 ระดับปานกลางร้อยละ 4.9
0
0
3. พ่นหมอกควันกำจัดยุงและสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลาย
วันที่ 1 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุง
- ทำแผนพ่นหมอกควัน/แผนสุ่มสำรวจลูกน้ำ
1.1 กิจกรรมการลงพื้นที่พ่นหมอกควันกำจัดยุงในโรงเรียน/ชุมชน (ลงพ่นตามแผน)
1.2 กิจกรรมการสุ่มสำรวจและประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ในโรงเรียน/วัด (ลงสำรวจตามแผน)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผลผลิต
- กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุง
-ลงพื้นที่พ่นหมอกควันกำจัดยุงในโรงเรียน/ชุมชน
- กิจกรรมสำรวจและประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ในโรงเรียน/วัด
-ลงพื้นที่สำรวจและประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ในโรงเรียน/วัด
ผลลัพธ์
1. กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุง
โรงเรียน 28 โรงเรียน/ พ่นครบ 28 โรงเรียน/28ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 100
ชุมชน 45 ชุมชน/ พ่นครบ 45 ชุมชน 45 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 100
- กิจกรรมสำรวจและประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ในโรงเรียน/วัด
มีการสำรวจโรงเรียน 28 โรงเรียน พบลูกน้ำ 11 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 39.28
มีการสำรวจวัด 15 วัด พบลูกน้ำ 12 วัด คิดเป็นร้อยละ 80
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลลัพธ์(Outcome)
อัตราป่วยของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ด้วยโรคติดต่อต่างๆ พบว่ามีอัตราป่วยที่เพิ่มขึ้นและลดลงเมื่อเปรียบเทียบระหว่างปี 2566 และปี 2567
จำนวนผู้ป่วยและอัตราป่วยด้วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 10 อันดับแรก
ปี พ.ศ 2566 ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง
1 ไข้หวัดใหญ่ 609 ราย
2 อุจจาระร่วง 455 ราย
3 กลุ่มโรคไข้เลือดออก 124 ราย
4 ปอดบวม 109 ราย
5 ตาแดง 45 ราย
6 มือเท้าปาก 45 ราย
7 กลุ่มวัณโรค 37 ราย
8 กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 27 ราย
9 อาหารเป็นพิษ 17 ราย
10 สุกใส 8 ราย
ที่มา : รายงาน506 โรงพยาบาลพัทลุง
ปี 2567 (นับตั้งแต่ ม.ค -31 ส.ค)
-อัตราป่วยของโรคโรคสำคัญๆ ที่ต้องเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการระบาดของโรค มีแนวโน้มลงลดลงเรื่อยๆ เมื่อเทียบกับ ปี 2566 ประกอบด้วย โรคไข้หวัดใหญ่ พบผู้ป่วย 169 ราย,โรคปอดบวม พบผู้ป่วย 47 ราย,
โรคไข้เลือดออก พบผู้ป่วย 53 ราย ,โรคอาหารเป็นพิษ พบผู้ป่วย 16 ราย ,โรคมือเท้าปาก พบผู้ป่วย 17 ราย
มีการจัดซื้อเครื่องพ่นหมอกควันกำจัดยุง จำนวน 2 เครื่อง เชิญแกนนำชุมชนเข้าร่วมอบรม จำนวน 65 ท่าน เข้าร่วมอบรม จำนวน 61 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 93.8
ประโยชน์ที่ได้จากการอบรม อยู่ในระดับมากที่สุดร้อยละ 49.18 ระดับดีร้อยละ 47.57 ระดับปานกลางร้อยละ 3.28
แกนนำชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และนำทักษะที่ได้รับจากการอบรมในครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานสอบสวนโรคไข้เเลือดออก อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 50.82 ระดับดีร้อยละ 44.26 ระดับปานกลางร้อยละ 4.92
เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานพ่นหมอกควันกำจัดยุงมีความรู้ในการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน โทษ และประโยชน์ ของเครื่องพ่นหมอกควันเพิ่มมากขึ้น
มีและใช้วัสดุอุปกรณ์และสื่อประชาสัมพันธ์ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อต่างๆ ร้อยละ 80
แผ่นพับความรู้ และสื่อประชาสัมพันธ์ สามารถเข้าถึงนักเรียนในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง และประชาชนทั่วไป ได้อย่างทั่วถึง ร้อยละ 80
การลงพื้นที่สุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลายและการพ่นหมอกควันกำจัดยุงทั้งในโรงเรียน/วัด/ชุมชน
สามารถตัดวงจรชีวิตของยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี แกนนำชุมชนและประชาชนให้ความร่วมมือ และตื่นตัวมากขึ้น
ในการเฝ้าระวัง ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อต่างๆ มากกว่า ร้อยละ 80
ผลการดำเนินงานก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและชุมชน
ปัญหาและอุปสรรค
- สภาพอากาศไม่เอื้ออำนวยในการลงพื้นที่สอบสวนเพื่อควบคุมการระบาดของโรค
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : สามารถลดจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกร้อยละ 10
120.00
108.00
0.00
2
เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปากและอื่นๆ
ตัวชี้วัด : สามารถลดจำนวนผู้ป่วยโรคมือ เท้า ปาก โรคเลปโตสไปโรสิสและอื่นๆ ร้อยละ 10
71.00
64.00
ปี 2567 (นับตั้งแต่ ม.ค -31 ส.ค)
-อัตราป่วยของโรคสำคัญๆ ที่ต้องเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการระบาดของโรค มีแนวโน้มลงลดลงเรื่อยๆ เมื่อเทียบกับ ปี 2566 ประกอบด้วย โรคไข้หวัดใหญ่ พบผู้ป่วย 169 ราย,โรคปอดบวม พบผู้ป่วย 47 ราย,
โรคไข้เลือดออก พบผู้ป่วย 53 ราย ,โรคอาหารเป็นพิษ พบผู้ป่วย 16 ราย ,โรคมือเท้าปาก พบผู้ป่วย 17 ราย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
31388
31388
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
31,388
31,388
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปากและอื่นๆ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์และสื่อประชาสัมพันธ์ในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อต่างๆ (2) อบรม แกนนำชุมชนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) พ่นหมอกควันกำจัดยุง
และสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลาย
ปี 2567 (นับตั้งแต่ ม.ค -31 ส.ค)
-อัตราป่วยของโรคสำคัญๆ ที่ต้องเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการระบาดของโรค มีแนวโน้มลงลดลงเรื่อยๆ เมื่อเทียบกับ ปี 2566 ประกอบด้วย โรคไข้หวัดใหญ่ พบผู้ป่วย 169 ราย,โรคปอดบวม พบผู้ป่วย 47 ราย,
โรคไข้เลือดออก พบผู้ป่วย 53 ราย ,โรคอาหารเป็นพิษ พบผู้ป่วย 16 ราย ,โรคมือเท้าปาก พบผู้ป่วย 17 ราย
มีการจัดซื้อเครื่องพ่นหมอกควันกำจัดยุง จำนวน 2 เครื่อง เชิญแกนนำชุมชนเข้าร่วมอบรม จำนวน 65 ท่าน เข้าร่วมอบรม จำนวน 61 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 93.8
ประโยชน์ที่ได้จากการอบรม อยู่ในระดับมากที่สุดร้อยละ 49.18 ระดับดีร้อยละ 47.57 ระดับปานกลางร้อยละ 3.28
แกนนำชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และนำทักษะที่ได้รับจากการอบรมในครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานสอบสวนโรคไข้เเลือดออก อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 50.82 ระดับดีร้อยละ 44.26 ระดับปานกลางร้อยละ 4.92
เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานพ่นหมอกควันกำจัดยุงมีความรู้ในการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน โทษ และประโยชน์ ของเครื่องพ่นหมอกควันเพิ่มมากขึ้น
มีและใช้วัสดุอุปกรณ์และสื่อประชาสัมพันธ์ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อต่างๆ ร้อยละ 80
แผ่นพับความรู้ และสื่อประชาสัมพันธ์ สามารถเข้าถึงนักเรียนในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง และประชาชนทั่วไป ได้อย่างทั่วถึง ร้อยละ 80
การลงพื้นที่สุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลายและการพ่นหมอกควันกำจัดยุงทั้งในโรงเรียน/วัด/ชุมชน
สามารถตัดวงจรชีวิตของยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี แกนนำชุมชนและประชาชนให้ความร่วมมือ และตื่นตัวมากขึ้น
ในการเฝ้าระวัง ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อต่างๆ มากกว่า ร้อยละ 80
ผลการดำเนินงานก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและชุมชน
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด
รหัสโครงการ 2567-L7572-01-007
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางจิณณพัต ทองพุด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ประจำปีงบประมาณ 2567 ”
หัวหน้าโครงการ
นางจิณณพัต ทองพุด
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 2567-L7572-01-007 เลขที่ข้อตกลง 8/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ประจำปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปากและอื่นๆ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์และสื่อประชาสัมพันธ์ในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อต่างๆ (2) อบรม แกนนำชุมชนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) พ่นหมอกควันกำจัดยุง
และสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลาย
ปี 2567 (นับตั้งแต่ ม.ค -31 ส.ค)
-อัตราป่วยของโรคสำคัญๆ ที่ต้องเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการระบาดของโรค มีแนวโน้มลงลดลงเรื่อยๆ เมื่อเทียบกับ ปี 2566 ประกอบด้วย โรคไข้หวัดใหญ่ พบผู้ป่วย 169 ราย,โรคปอดบวม พบผู้ป่วย 47 ราย,
โรคไข้เลือดออก พบผู้ป่วย 53 ราย ,โรคอาหารเป็นพิษ พบผู้ป่วย 16 ราย ,โรคมือเท้าปาก พบผู้ป่วย 17 ราย
มีการจัดซื้อเครื่องพ่นหมอกควันกำจัดยุง จำนวน 2 เครื่อง เชิญแกนนำชุมชนเข้าร่วมอบรม จำนวน 65 ท่าน เข้าร่วมอบรม จำนวน 61 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 93.8
ประโยชน์ที่ได้จากการอบรม อยู่ในระดับมากที่สุดร้อยละ 49.18 ระดับดีร้อยละ 47.57 ระดับปานกลางร้อยละ 3.28
แกนนำชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และนำทักษะที่ได้รับจากการอบรมในครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานสอบสวนโรคไข้เเลือดออก อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 50.82 ระดับดีร้อยละ 44.26 ระดับปานกลางร้อยละ 4.92
เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานพ่นหมอกควันกำจัดยุงมีความรู้ในการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน โทษ และประโยชน์ ของเครื่องพ่นหมอกควันเพิ่มมากขึ้น
มีและใช้วัสดุอุปกรณ์และสื่อประชาสัมพันธ์ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อต่างๆ ร้อยละ 80
แผ่นพับความรู้ และสื่อประชาสัมพันธ์ สามารถเข้าถึงนักเรียนในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง และประชาชนทั่วไป ได้อย่างทั่วถึง ร้อยละ 80
การลงพื้นที่สุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลายและการพ่นหมอกควันกำจัดยุงทั้งในโรงเรียน/วัด/ชุมชน
สามารถตัดวงจรชีวิตของยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี แกนนำชุมชนและประชาชนให้ความร่วมมือ และตื่นตัวมากขึ้น
ในการเฝ้าระวัง ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อต่างๆ มากกว่า ร้อยละ 80
ผลการดำเนินงานก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและชุมชน
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถิติผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกตั้งแต่ 1 มกราคม 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2566 ในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง พบผู้ป่วย จำนวน 120 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.38 เทียบกับจำนวนประชากร (31,388 ราย) สุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลาย ในชุมชน 47 ครั้ง พบค่า HI โดยเฉลี่ยร้อยละ 14.03 ค่า CI ร้อยละ 11.06 (HI และ CIไม่ควรเกินร้อยละ10) ในโรงเรียนสุ่มสำรวจ 55 ครั้ง พบค่า CI โดยเฉลี่ยร้อยละ 6.26 (ค่า CI ควรเป็น 0) ในวัดสุ่มสำรวจ 23 ครั้ง พบค่า CI โดยเฉลี่ยร้อยละ 12.27 (ค่า CI ควรเป็น 0) พ่นหมอกควันกำจัดยุงปี 2566 จำนวน 165 ครั้ง แบ่งเป็น ชุมชน 102 ครั้ง โรงเรียน32ครั้ง วัด 1 ครั้ง และคำร้องทั่วไป 30ครั้ง และโรคติดต่ออื่นๆ ประกอบด้วยโรคมือ เท้า ปาก 31 ราย โรคตาแดงในโรงเรียน 13 ราย โรคเลปโตสไปโรสิส 3 ราย โรคมาลาเรีย 1 ราย โรคระบบทางเดินอาหาร 15ราย โรคชิคุณกุนยา 1 ราย และอาหารเป็นพิษ 7 ราย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปากและอื่นๆ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์และสื่อประชาสัมพันธ์ในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อต่างๆ
- อบรม แกนนำชุมชนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก
- พ่นหมอกควันกำจัดยุงและสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 31,388 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผลการดำเนินงานก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและชุมชน
2.มีวัสดุอุปกรณ์เพียงพอในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อ
3.สื่อประชาสัมพันธ์สามารถเข้าถึงประชาชน
4.แกนนำชุมชนมีความรู้ในการสอบสวนโรคไข้เลือดออก
5.ชุมชน/โรงเรียนได้รับการพ่นหมอกควันกำจัดยุงเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
6.มีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในโรงเรียน/วัด/ชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์และสื่อประชาสัมพันธ์ในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อต่างๆ |
||
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำวางแผน 1.จัดหาวัสดุ อุกรณ์ ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อต่างๆ 2.จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ แผ่นพับความรู้เรื่องโรคติดต่อต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคมือ เท้า ปาก ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต 1.จัดซื้อวัสดุ อุกรณ์ ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อต่างๆ 2.ทำสื่อประชาสัมพันธ์ แผ่นพับความรู้โ รคไข้เลือดออก โรคมือ เท้า ปาก ผลลัพธ์
m จำนวน 15 กล่อง น้ำยาฆ๋าเชื้อ จำนวน 10 ขวด สเปร์แอลกอฮอล์ จำนวน 100 ขวด หมวกตัวหนอน จำนวน 300 ชิ้น ไฟฉาย จำนวน 10 กระบอก อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่จัดซื้อนำมาใช้ในการลงสอบสวนโรค เช่น โรคมือ เท้า ปาก ในโรงเรียน การให้ความรู้ สุขศึกษาและอนามัยในโรงเรียน และสื่อประชาสัมพันธ์
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก และโรคติดต่อต่างๆ 3 มีและใช้วัสดุอุปกรณ์และสื่อประชาสัมพันธ์ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อต่างๆ ร้อยละ 80 4 แผ่นพับความรู้ และสื่อประชาสัมพันธ์ สามารถเข้าถึงนักเรียนในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง และประชาชนทั่วไป ได้อย่างทั่วถึง ร้อยละ 80
|
0 | 0 |
2. อบรม แกนนำชุมชนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก |
||
วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ1.จัดหาสเปคเครื่องพ่นยุง 2.ประสานงานวิทยากร/ผู้เข้าร่วมประชุม กลุ่มเป้าหมาย 3.จัดการอบรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต
1.จัดซื้อเครื่องพ่นยุง ผลลัพธิ์
1.จัดซื้อเครื่องพ่นหมอกควันกำจัดยุง ชนิกสะพายไหล่ จำนวน 2 เครื่อง 2.อบรมแกนนำชุมชน เชิญผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 65 ท่าน เข้าร่วมอบรม จำนวน 61 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 93.8 3.แกนนำชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และนำทักษะที่ได้รับจากการอบรมในครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในการสอบสวนโรคไขเเลือดออก อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 50.8 ระดับดีร้อยละ 44.2 ระดับปานกลางร้อยละ 4.9
|
0 | 0 |
3. พ่นหมอกควันกำจัดยุงและสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลาย |
||
วันที่ 1 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุง
1.1 กิจกรรมการลงพื้นที่พ่นหมอกควันกำจัดยุงในโรงเรียน/ชุมชน (ลงพ่นตามแผน) 1.2 กิจกรรมการสุ่มสำรวจและประเมินค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย ในโรงเรียน/วัด (ลงสำรวจตามแผน) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผลผลิต
ผลลัพธ์ 1. กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุง โรงเรียน 28 โรงเรียน/ พ่นครบ 28 โรงเรียน/28ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 100 ชุมชน 45 ชุมชน/ พ่นครบ 45 ชุมชน 45 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 100
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลลัพธ์(Outcome)
อัตราป่วยของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ด้วยโรคติดต่อต่างๆ พบว่ามีอัตราป่วยที่เพิ่มขึ้นและลดลงเมื่อเปรียบเทียบระหว่างปี 2566 และปี 2567
จำนวนผู้ป่วยและอัตราป่วยด้วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 10 อันดับแรก
ปี พ.ศ 2566 ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง
1 ไข้หวัดใหญ่ 609 ราย
2 อุจจาระร่วง 455 ราย
3 กลุ่มโรคไข้เลือดออก 124 ราย
4 ปอดบวม 109 ราย
5 ตาแดง 45 ราย
6 มือเท้าปาก 45 ราย
7 กลุ่มวัณโรค 37 ราย
8 กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 27 ราย
9 อาหารเป็นพิษ 17 ราย
10 สุกใส 8 ราย
ที่มา : รายงาน506 โรงพยาบาลพัทลุง
ปี 2567 (นับตั้งแต่ ม.ค -31 ส.ค)
-อัตราป่วยของโรคโรคสำคัญๆ ที่ต้องเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการระบาดของโรค มีแนวโน้มลงลดลงเรื่อยๆ เมื่อเทียบกับ ปี 2566 ประกอบด้วย โรคไข้หวัดใหญ่ พบผู้ป่วย 169 ราย,โรคปอดบวม พบผู้ป่วย 47 ราย,
โรคไข้เลือดออก พบผู้ป่วย 53 ราย ,โรคอาหารเป็นพิษ พบผู้ป่วย 16 ราย ,โรคมือเท้าปาก พบผู้ป่วย 17 ราย
มีการจัดซื้อเครื่องพ่นหมอกควันกำจัดยุง จำนวน 2 เครื่อง เชิญแกนนำชุมชนเข้าร่วมอบรม จำนวน 65 ท่าน เข้าร่วมอบรม จำนวน 61 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 93.8
ประโยชน์ที่ได้จากการอบรม อยู่ในระดับมากที่สุดร้อยละ 49.18 ระดับดีร้อยละ 47.57 ระดับปานกลางร้อยละ 3.28
แกนนำชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และนำทักษะที่ได้รับจากการอบรมในครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานสอบสวนโรคไข้เเลือดออก อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 50.82 ระดับดีร้อยละ 44.26 ระดับปานกลางร้อยละ 4.92
เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานพ่นหมอกควันกำจัดยุงมีความรู้ในการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน โทษ และประโยชน์ ของเครื่องพ่นหมอกควันเพิ่มมากขึ้น
มีและใช้วัสดุอุปกรณ์และสื่อประชาสัมพันธ์ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อต่างๆ ร้อยละ 80
แผ่นพับความรู้ และสื่อประชาสัมพันธ์ สามารถเข้าถึงนักเรียนในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง และประชาชนทั่วไป ได้อย่างทั่วถึง ร้อยละ 80
การลงพื้นที่สุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลายและการพ่นหมอกควันกำจัดยุงทั้งในโรงเรียน/วัด/ชุมชน
สามารถตัดวงจรชีวิตของยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี แกนนำชุมชนและประชาชนให้ความร่วมมือ และตื่นตัวมากขึ้น
ในการเฝ้าระวัง ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อต่างๆ มากกว่า ร้อยละ 80
ผลการดำเนินงานก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและชุมชน
ปัญหาและอุปสรรค
- สภาพอากาศไม่เอื้ออำนวยในการลงพื้นที่สอบสวนเพื่อควบคุมการระบาดของโรค
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : สามารถลดจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกร้อยละ 10 |
120.00 | 108.00 | 0.00 |
|
2 | เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปากและอื่นๆ ตัวชี้วัด : สามารถลดจำนวนผู้ป่วยโรคมือ เท้า ปาก โรคเลปโตสไปโรสิสและอื่นๆ ร้อยละ 10 |
71.00 | 64.00 | ปี 2567 (นับตั้งแต่ ม.ค -31 ส.ค) -อัตราป่วยของโรคสำคัญๆ ที่ต้องเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการระบาดของโรค มีแนวโน้มลงลดลงเรื่อยๆ เมื่อเทียบกับ ปี 2566 ประกอบด้วย โรคไข้หวัดใหญ่ พบผู้ป่วย 169 ราย,โรคปอดบวม พบผู้ป่วย 47 ราย, โรคไข้เลือดออก พบผู้ป่วย 53 ราย ,โรคอาหารเป็นพิษ พบผู้ป่วย 16 ราย ,โรคมือเท้าปาก พบผู้ป่วย 17 ราย |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 31388 | 31388 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 31,388 | 31,388 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคมือ เท้า ปากและอื่นๆ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์และสื่อประชาสัมพันธ์ในการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อต่างๆ (2) อบรม แกนนำชุมชนในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) พ่นหมอกควันกำจัดยุง
และสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลาย
ปี 2567 (นับตั้งแต่ ม.ค -31 ส.ค)
-อัตราป่วยของโรคสำคัญๆ ที่ต้องเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการระบาดของโรค มีแนวโน้มลงลดลงเรื่อยๆ เมื่อเทียบกับ ปี 2566 ประกอบด้วย โรคไข้หวัดใหญ่ พบผู้ป่วย 169 ราย,โรคปอดบวม พบผู้ป่วย 47 ราย,
โรคไข้เลือดออก พบผู้ป่วย 53 ราย ,โรคอาหารเป็นพิษ พบผู้ป่วย 16 ราย ,โรคมือเท้าปาก พบผู้ป่วย 17 ราย
มีการจัดซื้อเครื่องพ่นหมอกควันกำจัดยุง จำนวน 2 เครื่อง เชิญแกนนำชุมชนเข้าร่วมอบรม จำนวน 65 ท่าน เข้าร่วมอบรม จำนวน 61 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 93.8
ประโยชน์ที่ได้จากการอบรม อยู่ในระดับมากที่สุดร้อยละ 49.18 ระดับดีร้อยละ 47.57 ระดับปานกลางร้อยละ 3.28
แกนนำชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และนำทักษะที่ได้รับจากการอบรมในครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานสอบสวนโรคไข้เเลือดออก อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 50.82 ระดับดีร้อยละ 44.26 ระดับปานกลางร้อยละ 4.92
เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานพ่นหมอกควันกำจัดยุงมีความรู้ในการใช้เครื่องพ่นหมอกควัน โทษ และประโยชน์ ของเครื่องพ่นหมอกควันเพิ่มมากขึ้น
มีและใช้วัสดุอุปกรณ์และสื่อประชาสัมพันธ์ในการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อต่างๆ ร้อยละ 80
แผ่นพับความรู้ และสื่อประชาสัมพันธ์ สามารถเข้าถึงนักเรียนในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง และประชาชนทั่วไป ได้อย่างทั่วถึง ร้อยละ 80
การลงพื้นที่สุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลายและการพ่นหมอกควันกำจัดยุงทั้งในโรงเรียน/วัด/ชุมชน
สามารถตัดวงจรชีวิตของยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี แกนนำชุมชนและประชาชนให้ความร่วมมือ และตื่นตัวมากขึ้น
ในการเฝ้าระวัง ป้องกันตนเองจากโรคติดต่อต่างๆ มากกว่า ร้อยละ 80
ผลการดำเนินงานก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชนและชุมชน
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด
รหัสโครงการ 2567-L7572-01-007
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางจิณณพัต ทองพุด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......