กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ร่วมใจลดขยะด้วยพลังของชุมชน ”




หัวหน้าโครงการ
นางมารีเย๊าะ หวังน๊ะ




ชื่อโครงการ ร่วมใจลดขยะด้วยพลังของชุมชน

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5178-2-08 เลขที่ข้อตกลง 13/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567

กิตติกรรมประกาศ

"ร่วมใจลดขยะด้วยพลังของชุมชน จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จะโหนง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ร่วมใจลดขยะด้วยพลังของชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ (2) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) (3) เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ (4) เพื่อลดจำนวนครัวเรือนที่มีปัญหาขยะลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมทีมงานที่เกี่ยวข้อง (2) ให้ความรู้และสาธิตการคัดแยกขยะตามหลักการ 3Rs (3) ประชุมสร้างความตระหนักการจัดการขยะของครัวเรือน (4) รณรงค์บ้านนี้มีรัก ปลูกผักกินเอง (5) ประเมินบ้านสะอาด (6) นำเสนอผลการจัดโครงการแก่ชุมชน (คืนความรู้) และเสนอมาตรการชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) การประสานงานกับท้องถิ่นในการจัดเก็บมูลฝอยอย่างต่อเนื่อง สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ช่วงเวลาในการจัดเก็บประมาณ 05.00-07.00 น. (2) การรณรงค์เก็บบ้าน เก็บน้ำ เก็บขยะ ทุก 3 เดือน (3) รณรงค์การปลูกพืชผักสวนครัวร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่น

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
  2. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)
  3. เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ
  4. เพื่อลดจำนวนครัวเรือนที่มีปัญหาขยะลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมทีมงานที่เกี่ยวข้อง
  2. ให้ความรู้และสาธิตการคัดแยกขยะตามหลักการ 3Rs
  3. ประชุมสร้างความตระหนักการจัดการขยะของครัวเรือน
  4. รณรงค์บ้านนี้มีรัก ปลูกผักกินเอง
  5. ประเมินบ้านสะอาด
  6. นำเสนอผลการจัดโครงการแก่ชุมชน (คืนความรู้) และเสนอมาตรการชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 27
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
จำนวนหลังคาเรือน 167

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ชุมชนบ้านเขาจันทร์ เป็นชุมชนที่ปลอดโรคที่มีขยะเป็นพาหะ
  2. ประชาชนบ้านเขาจันท์ มีบริเวณรอบๆบ้านที่สะอาดและน่าอยู่
  3. ประชาชนบ้านเขาจันทร์มีจิตสำนึก ในการคัดแยกขยะก่อนทิ้งและนำมาใช้ ประโยชน์

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมทีมงานที่เกี่ยวข้อง

วันที่ 1 มิถุนายน 2567 เวลา 14:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงที่มาโครงการ  นำเสนอแนวทางการดำเนินงาน  จัดทำแผนงาน/กิจกรรม  สรุปผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แผนการดำเนินการ/แนวทางปฏิบัติตามโครงการจำนวน 1 แผน

 

0 0

2. ให้ความรู้และสาธิตการคัดแยกขยะตามหลักการ 3Rs

วันที่ 10 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมเสริมสร้างความรู้แก่กลุ่มประชาชาที่คัดเลือกมาจากตัวแทนหลังคาเรือนและกลุ่มนักเรียน  เยาวชน  ในประเด็นการจัดการขยะตามมาตรการ 3R ที่ศาลากลางบ้าน  โรงเรียน  และการติดตามสอบถามแนวทางการดำเนินงานที่บ้านเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทุกหลังคาเรือนมีความรู้  ความเข้าใจในการกำจัดขยะได้อย่างถูกวิธี  ทุกหลังคาเรือน ทุกหลังคาเรือนมีแนวทางการจัดการขยะประเภทพลาสติกได้อย่างถูกต้อง  ทุกหลังคาเรือน

 

0 0

3. ประชุมสร้างความตระหนักการจัดการขยะของครัวเรือน

วันที่ 17 มิถุนายน 2567 เวลา 14:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมทีมค้นหาเกณฑ์ในการประกวดบ้านน่าอยู่  บ้านส่งเสิรมสุขภาพ -กำหนดแนวทางประชาสัมพันธ์การสมัครประกวดบ้านแบ่งเป็น  7 เขต  โดยทำการประเมินโดยทีมงานสำรวจและสังเกตสภาพบ้านควา่มมั่งคงแข็งแรง  ความสะอาด  ความเป็นระเบียบเรียบร้อย  การปลูกไม้ดอกหรือผักสวนครัว  ทีมงานสรุปและคัดเลือกเป็นตัวแทนโซน -ตัวแทนโซนใช้วิธีประกวดบ้านของกรมอนามัย แบบประเมินบ้านสะอาด  อนามัยดี  ชีวีสมบูรณ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีเกณฑ์ในการประกวดบ้าน

 

0 0

4. รณรงค์บ้านนี้มีรัก ปลูกผักกินเอง

วันที่ 22 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ส่งเสริมการปลูกผักพื้นบ้านในครัวเรือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชุมชนมีการปลูกพืชผักพื่นบ้านรับประทานในครัวเรือน

 

0 0

5. ประเมินบ้านสะอาด

วันที่ 1 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทีมงานออกประเมินบ้านตัวอย่าง  ได้บ้านตัวอย่างจากทั้ง 7 โซน  นำมาประกวดระดับหมู่บ้านอีกครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีบ้านตัวอย่าง 7 หลัง  กระจายตามส่วนต่างๆของชุมชน
ชุมชนได้รับการกระตุ้นให้ดูแลสิ่งแวดล้อม ชุมชนมีการจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมกับท้องถิ่น  สมัครเข้าโครงการกำจัดขยะกับอบต.จะโหนง  45 หลังคาเรือน

 

0 0

6. นำเสนอผลการจัดโครงการแก่ชุมชน (คืนความรู้) และเสนอมาตรการชุมชน

วันที่ 31 กรกฎาคม 2567 เวลา 14:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมเยี่ยมชมบ้านตัวอย่าง นำมาคัดเลือกลำดับ 1 นายสะบน ชายเหร็น 17/3 ม.10 , อันดับ 2 นายอาหลี หวังนิ 16/1 ม.10 , อันดับ 3 นางวรรณา สงโพยม 4 ม.10 สรุปผล และนำเสนอประเด็นปัญหาอุปสรรคในการจัดทำโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนวทางปฏิบัติในการจัดการขยะของบ้านเรือน  หลุมขยะเปียก การจัดการพลาสติกในชุมชน มาตรการรณรงค์จัดการขยะรอบบ้านเรือนทุกวันศุกร์ บ้านตัวอย่างทั้ง 7 โซน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
20.00 50.00 70.00

 

2 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า
40.00 50.00 70.00

 

3 เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการด้านการจัดการขยะ
0.00 1.00 1.00

 

4 เพื่อลดจำนวนครัวเรือนที่มีปัญหาขยะลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละครัวเรือนที่มีปัญหาขยะ
80.00 50.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 194 199
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 27 34
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
จำนวนหลังคาเรือน 167 172

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ (2) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) (3) เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการในการจัดการขยะ (4) เพื่อลดจำนวนครัวเรือนที่มีปัญหาขยะลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมทีมงานที่เกี่ยวข้อง (2) ให้ความรู้และสาธิตการคัดแยกขยะตามหลักการ 3Rs (3) ประชุมสร้างความตระหนักการจัดการขยะของครัวเรือน (4) รณรงค์บ้านนี้มีรัก ปลูกผักกินเอง (5) ประเมินบ้านสะอาด (6) นำเสนอผลการจัดโครงการแก่ชุมชน (คืนความรู้) และเสนอมาตรการชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) การประสานงานกับท้องถิ่นในการจัดเก็บมูลฝอยอย่างต่อเนื่อง สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ช่วงเวลาในการจัดเก็บประมาณ 05.00-07.00 น. (2) การรณรงค์เก็บบ้าน เก็บน้ำ เก็บขยะ ทุก 3 เดือน (3) รณรงค์การปลูกพืชผักสวนครัวร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่น

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ร่วมใจลดขยะด้วยพลังของชุมชน

รหัสโครงการ 67-L5178-2-08 รหัสสัญญา 13/2567 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2567 - 31 กรกฎาคม 2567

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

การนำแนวคิดไปขยายต่อกับการปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเก็บมูลฝอยพลาสติก

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

กิจกรรมรวบรวมมูลฝอยเดือนละครั้งส่งต่อรพ.สต./มัสยิด

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

บ้านเรือนลดการทิ้งมูลฝอยเกลื่อนกราด มีความเป็นระเบียบขึ้น

สังเกต สอบถาม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

บ้านเรือนมีการปลูกผักสวนครัวอย่างน้อย 5 ชนิดไว้ใกล้ๆครัวเรือน

สังเกต

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

ถนนสะอาดขึ้น ไม่มีขยะทิ้งเรี่ยราด

สังเกต

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

มีกิจกรรมเก็บบ้าน เก็บน้ำ เก็บขยะ สัปดาห์ละครั้ง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

มีการแบ่งปันผักสวนครัวใกล้บ้าน

สอบถาม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

ร่วมใจลดขยะด้วยพลังของชุมชน จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5178-2-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมารีเย๊าะ หวังน๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด