กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ รพ.สต.นาทับใส่ใจห่วงใยหญิงตั้งครรภ์ ”
ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางประทีป ปิ่นทอง




ชื่อโครงการ โครงการ รพ.สต.นาทับใส่ใจห่วงใยหญิงตั้งครรภ์

ที่อยู่ ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5181-01-04 เลขที่ข้อตกลง 04/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 28 มิถุนายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ รพ.สต.นาทับใส่ใจห่วงใยหญิงตั้งครรภ์ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ รพ.สต.นาทับใส่ใจห่วงใยหญิงตั้งครรภ์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ รพ.สต.นาทับใส่ใจห่วงใยหญิงตั้งครรภ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทับ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5181-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 28 มิถุนายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,490.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทับ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เพราะเด็กในวันนี้คืออนาคตของชาวนาทับ อนาคตของชาติ จากข้อมุลย้อนหลัง ปีงบประมาณ 2566 พบว่า... 1.หญิงตั้งครรภ์ ตั้งครรภ์เมื่ออายุก่อน 19 ปีและอยู่ในช่วงกำลังเรียนมัธยมและมีภาวะไม่พร้อมตั้งครรภ์นำไปสู่การตั้งครรภ์ที่ไม่มีคุณภาพ มารดามีภาวะเครียดในขณะตั้งครรภ์ส่งผลต่อทารกในครรภ์ 2.หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์ เพราะ12 สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์ เป็นช่วงของการสร้างอวัยวะของทารกในครรภ์ หากไม่ได้รับยาบำรุงใน 12 สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์การสร้างอวัยวะทารกในครรภ์อาจไม่สมบูรณ์
3.หญิงตั้งครรภ์ใน ต.นาทับ มีภาวะโลหิตจางร้อยละ 30 ซึ่งภาวะโลหิตจางสัมพันธ์กับความพิการแต่กำเนิดและสามารถป้องกันได้ ผลของภาวะโลหิตจางต่อมารดาในการตั้งครรภ์ คือ การทำงานของหัวใจหนักขึ้น โอกาสติดเชื้อต่างๆง่ายขึ้น ระยะคลอดมีโอกาสเกิดภาวะช็อก หรือหัวใจล้มเหลวได้และยังมีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าหลังคลอดส่วนผลต่อทารกในครรภ์ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์เป็นช่วงของการสร้างอวัยวะหากมารดามีภาวะซีด บุตรมีความเสี่ยง ทารกเติบโตช้า เพิ่มอัตราการตายปริกำเนิด การคลอดก่อนกำหนด พิการแต่กำเนิด คลอดแล้วมีพัฒนาการและการเจริญเติบโตของสมองที่ช้า กว่าเด็กทั่วไป ลูกพิการเท่ากับครอบครัวพิการ ความพิการแต่กำเนิดเป็นปัญหาสำคัญตั้งแต่ระดับครอบครัวไปจนถึงระดับชาติ และเป็นเรื่องที่น่าห่วงเป็นอย่างมาก การมีลูกพิการเพียงหนึ่งคน ก็ทำให้ทั้งครอบครัวพิการไปด้วย พ่อ แม่ ต้องทุ่มเทแรงกายแรงใจดูแลบุตรพิการ สูญเสียโอกาสในการหารายได้ ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาและยังทุกข์ใจแสนสาหัส (ทรงสมร พิเชียรโสภณ )หากเด็ก 1 คนในบ้านมีภาวะพิการแต่กำเนิดผู้ปกครองกังวล สังคมต้องมาโอบอุ้มช่วยกันดูแล เป็นห่วงตราบจนสิ้นชีวิต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.หญิงตั้งครรภ์ในเขตพื้นที่รพ.สต.นาทับ มีภาวะซีดลดลง
  2. 2.เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม
  3. ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย
  4. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์
  5. 5.หญิงตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 19 ปีน้อยลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดง (Hematocrit) หญิงวัยเจริญพันธ์ุและหญิงตั้งครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการในหมู่บ้าน
  2. รับสมัครหญฺิงวัยเจริญพันธุ์ที่เข้าร่วมโครงการ
  3. กิจกรรมกระบวนกรสอนเรื่องเพศในนักเรียนชั้น ม.1-ม.3 โรงเรียนบ้านปากบางนาทับ
  4. กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการ/ติดตามภาวะซีด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงวัยเจริญพันธุ์ในเขตพื้นที่บริการรพ.สต.นาทับมีความพร้อมในการตั้งครรภ์ เห็นความสำคัญของการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ และลดจำนวนหญิงตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 19 ปี 2.หญิงมีครรภ์ในเขตพื้นที่บริการรพ.สต.นาทับ ไม่มีภาวะซีดหรือมีภาวะซีดลดลง ฟันไม่ผุในขณะตั้งครรภ์หรือได้รับการแก้ไขในรายที่ฟันผุ นำไปสู่ภาวะโภชนาการที่ดีในขณะตั้งครรภ์ 3.ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย 100% นำไปสู่การตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย เด็กนาทับเติบโตอย่างมีคุณภาพเป็นกำลังสำคัญให้ประเทศชาติต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดง (Hematocrit) หญิงวัยเจริญพันธ์ุและหญิงตั้งครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการในหมู่บ้าน

วันที่ 16 มกราคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมคณะทำงานแม่และเด็กคืนข้อมูล สรุปปัญหา 2.ของบกองทุนเทศบาลตำบลนาทับ 3.ค้นหาหญิงวัยเจริญพันธ์ุที่เข้าร่วมโครงการและประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเช่นรพ.จะนะ 4.ทำกิจกรรมตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ 13-45 ปี
5.คืนข้อมูลผลการตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์และแจกจ่ายยา folic และ Ferrous fumarate 200 mg) แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์  รับประทานสัปดาห์ละ 1 เม็ด ในรายที่ผลการตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ปกติพร้อมทั้งแนะนำเรื่องภาวะโภชนาการ  และแจกจ่ายยา folic และ Ferrous fumarate (200 mg) แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์  รับประทานวันละ 1 เม็ด และในรายที่ผลการตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงต่ำกว่าปกติ(36%) แจกจ่ายยาให้รับประทานยา folic และ Ferrous fumarate (200 mg) วันละ 1 เม็ด พร้อมทั้งสอบถาม ค้นหาปัญหารายบุคคลถึงเหตุผลของการเกิดภาวะซ๊ีดและแนะนำเรื่องภาวะโภชนาการ และนัดมาติดตามการรับประทานยาและการตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงซ้ำ 2 สัปดาห์ โดยหมู่ที่ 1ทำในวันที่ 14 สิงหาคม 2567 เวลา 13.00-16.30 น.,หมู่ที่ 2 ทำในวันที่ 15 สิงหาคม 2567 เวลา 08.30-12.00 น.,หมู่ที่ 12 ทำในวันที่ 16 สิงหาคม 2567 เวลา 08.30-12.00 น,หมู่ที่ 6 ทำในวันที่ 19 สิงหาคม 2567 เวลา 13.00-16.30 น,หมู่ที่ 8 ทำในวันที่ 21 สิงหาคม 2567 เวลา 13.00-16.30 นหมู่ที่ 10 ทำในวันที่ 26 สิงหาคม 2567 เวลา 13.00-16.30 น ,หมู่ที่ 13 ทำในวันที่ 28 สิงหาคม 2567 เวลา 08.30-12.00 น,หมู่ที่ 14 ทำในวันที่ 28 สิงหาคม 2567 เวลา 13.00-16.30 น 6.ติดตามตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงซ้ำหลังจากรับประทานยาไป 2 สัปดาห์ในรายที่ความเข้มข้นของเม็ดเลือดต่ำกว่าปกติและให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวต่อ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่เข้าร่วมโครงการ  รายไม่มีภาวะซีดและมีหญิงวัยเจริญพันธ์ุ 1 รายที่เข้าร่วมโครงการ มีภาวะซีดก่อนเข้าร่วมโครงการและได้รับการแก้ไขภาวะซีด ตั้งครรภ์เมื่อมาฝากครรภ์ผลความเข้มข้นของเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ
และได้งานวิจัย 1 เรื่อง "ศึกษาความชุกภาวะซีดในสาวไทยแก้มแดง พื้นที่บริการรพ.สต.นาทับ อ.จะนะ จ.สงขลา และค้นหาปัญหารายบุคคลที่ทำให้เกิดภาวะซีด"

 

0 0

2. รับสมัครหญฺิงวัยเจริญพันธุ์ที่เข้าร่วมโครงการ

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมคณะทำงาน แม่และเด็ก 2.รับสมัครหญิงวัยเจริญพันธ์ที่เข้าร่วมโครงการสาวไทยแก้มแดง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้กลุ่มเป้าหมายที่สมัครใจเข้าร่วมโครงการ

 

0 0

3. กิจกรรมกระบวนกรสอนเรื่องเพศในนักเรียนชั้น ม.1-ม.3 โรงเรียนบ้านปากบางนาทับ

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมคืนข้อมูล ปัญหาคณะทำงานแม่และเด็ก คุณครูในโรงเรียนและวางแผนแก้ไขปัญหา 2.เขียนโครงการของบประมาณกองทุนเทศบาลตำบลนาทับ 3.แจ้งกำหนดการอบรมเรื่องเพศศึกษา  การเข้าใจในร่างกายของตนเอง  การป้องกันตนเองในเรื่องเพศศึกษาและการเอาตัวรอดในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่อการมีเพศสัมพันธ์ 4.สรุปผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนชั้นม.1-3 โรงเรียนบ้านปากบางนาทับมีความรู้เรื่องเพศศึกษา  เข้าใจในร่างกายของตนเอง  และสามารถการป้องกันตนเองในเรื่องเพศศึกษาและการเอาตัวรอดในสถานการณ์ที่ล่อแหลมต่อการมีเพศสัมพันธ์ ***ขณะเขียนโครงการของบประมาณนักเรียนชั้นม.1-3 โรงเรียนบ้านปากบางนาทับมี 85 รายหลังโครงการผ่านเป็นปีการศึกษาใหม่จำนวนนักเรียนลดลงเสร็จสิ้นโครงการรวมทั้งสิ้น 81 คน ซึ่งของบประมาณไว้ 95 รายยอดเงินเหลือ 14 ราย =(95x30=2850 บาท)-(81x30 =2430 บาท)=420 บาท(14 ราย)คืนกองทุนเทศบาลตำบลนาทับ

 

0 0

4. กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการ/ติดตามภาวะซีด

วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.แจ้งกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะซีดนัดมาติดตามความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงซ้ำหลังรับประทานยา folic และFerrous fumarate 2 สัปดาห์
2.มีสาวไทยแก้มแดง 1 ราย ยังมีภาวะซีดจึงค้นหาปัญหาเชิงลึกสอบถามเป้าหมายบอกว่ามีอาชีพเกษตรกร เลี้ยงไก่ ต้องสัมผัสดิน ซึ่งรับประทานอาหารและยาบำรุงตามเกณฑ์  แต่ไม่มีประวัิติรับประทานยาถ่ายพยาธิร่วมกับมีพฤติกรรมรับประทานอาหารสุกๆดิบๆบางครั้งจึงให้ยาถ่ายพยาธิไปรับประทาน 3 วันและรับประทานยาบำรุงทุกวันเหมือนเดิม 2 สัปดาห์นัดมาเจาะความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงไม่มีภาวะซีด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สาวไทยแก้มแดงที่เข้าร่วมโครงการไม่มีภาวะซีด

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.หญิงตั้งครรภ์ในเขตพื้นที่รพ.สต.นาทับ มีภาวะซีดลดลง ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ในเขตพื้นที่รพ.สต.นาทับมีภาวะซีดลดลงน้อยกว่าร้อยละ 14
ผลการดำเนินโครงการ 1.หญิงตั้งครรภ์ในเขตพื้นที่รพ.สต.นาทับ มีภาวะซีดลดลงร้อยละ 25 ต่ำกว่าเป้าประสงค์เดิมแต่เนื่องด้วยเนื่องด้วยโครงการต้องทำต่อเนื่องการดูแลไม่ให้สาวไทยแก้มแดงซีด จากการทำโครงการมีสาวไทยแก้มแดง 2 รายที่เข้าร่วมโครงการและมีภาวะซีดได้รับการแก้ไขไม่มีภาวะซีดมีการตั้งครรภ์ มาฝากครรภ์ผลเลือดไม่มีภาวะซีด 2.เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัมลดลง เท่ากับหรือต่ำกว่าร้อยละ 3 ผลการดำเนินโครงการ เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัมลดลงรอ้ยละ 3 ตามเป้าประสงค์ที่วางไว้ 3. ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย 100 % 4.หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์ ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์รอ้ยละ 86 สูงกว่าอัตราเดิมแต่ยังต่ำกว่าเกณฑ์ที่ตั้งเป้าไว้ 5.5.หญิงตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 19 ปีน้อยลง ลดลงกว่าเดิมร้อยละ 10 เป็นร้อยละ 4 ตามเป้าหมายแต่ยังมีอายุน้อยกว่า 19 ปีไม่มีท้องไม่พร้อม

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.หญิงตั้งครรภ์ในเขตพื้นที่รพ.สต.นาทับ มีภาวะซีดลดลง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ในเขตพื้นที่รพ.สต.นาทับมีภาวะซีดลดลงน้อยกว่าร้อยละ 14
29.41 15.00 25.00

เนื่องด้วยโครงการต้องทำต่อเนื่องการดูแลไม่ให้สาวไทยแก้มแดงซีด จากการทำโครงการมีสาวไทยแก้มแดง 2 รายที่เข้าร่วมโครงการและมีภาวะซีดได้รับการแก้ไขไม่มีภาวะซีดมีการตั้งครรภ์ มาฝากครรภ์ผลเลือดไม่มีภาวะซีด

2 2.เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม
ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัมลดลง เท่ากับหรือต่ำกว่าร้อยละ 3
5.00 3.00 3.00

 

3 ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยร้อยละ 100
1.00 0.00 100.00

 

4 หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์เพิ่มมากขึ้นมากกว่าร้อยละ 90
20.00 10.00 10.00

 

5 5.หญิงตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 19 ปีน้อยลง
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 19 ปีลดลงเหลือร้อยละ 5
10.00 5.00 4.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.หญิงตั้งครรภ์ในเขตพื้นที่รพ.สต.นาทับ มีภาวะซีดลดลง (2) 2.เด็กแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม (3) ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย (4) หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครั้งแรกอายุครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์ (5) 5.หญิงตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 19 ปีน้อยลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมตรวจคัดกรองความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดง (Hematocrit) หญิงวัยเจริญพันธ์ุและหญิงตั้งครรภ์ที่เข้าร่วมโครงการในหมู่บ้าน (2) รับสมัครหญฺิงวัยเจริญพันธุ์ที่เข้าร่วมโครงการ (3) กิจกรรมกระบวนกรสอนเรื่องเพศในนักเรียนชั้น ม.1-ม.3 โรงเรียนบ้านปากบางนาทับ (4) กิจกรรมส่งเสริมภาวะโภชนาการ/ติดตามภาวะซีด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ รพ.สต.นาทับใส่ใจห่วงใยหญิงตั้งครรภ์

รหัสโครงการ 67-L5181-01-04 รหัสสัญญา 04/2567 ระยะเวลาโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 28 มิถุนายน 2567

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

อสม.และชาวบ้านช่วยกันประชาสัมพันธ์ พฤติกรรมการบริโภค การรับประทานยาบำรุง /สร้างความรอบรู้ในเด็กนักเรียน โรงเรียน

ภาพกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการ รพ.สต.นาทับใส่ใจห่วงใยหญิงตั้งครรภ์ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5181-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางประทีป ปิ่นทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด