โครงการพ่อแม่ผู้ปกครอง ตำบลยามู ใส่ใจบุตร หมั่นพาลูกหลานมาฉีดวัคซีน ปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพ่อแม่ผู้ปกครอง ตำบลยามู ใส่ใจบุตร หมั่นพาลูกหลานมาฉีดวัคซีน ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสมัครสาธารณสุขตำบลยามู
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยามู
มกราคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการพ่อแม่ผู้ปกครอง ตำบลยามู ใส่ใจบุตร หมั่นพาลูกหลานมาฉีดวัคซีน ปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 004/2567 เลขที่ข้อตกลง 002/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2566 ถึง 31 มกราคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพ่อแม่ผู้ปกครอง ตำบลยามู ใส่ใจบุตร หมั่นพาลูกหลานมาฉีดวัคซีน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยามู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพ่อแม่ผู้ปกครอง ตำบลยามู ใส่ใจบุตร หมั่นพาลูกหลานมาฉีดวัคซีน ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพ่อแม่ผู้ปกครอง ตำบลยามู ใส่ใจบุตร หมั่นพาลูกหลานมาฉีดวัคซีน ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 004/2567 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2566 - 31 มกราคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,510.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยามู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตั้งแต่ปีงบประมาณ 2564-2566 ผลงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุครบ 1 ปี (fully immunized)
คิดเป็นร้อยละ 64.71 , 51.76 ,42.05 ตามลำดับ จะเห็นได้ว่า ผลการดำเนินงานย้อนหลัง ๓ ปีมีแนวโน้มลดลงและยังไม่ผ่านตัวชี้วัดที่กระทรวงกำหนด คือ เด็กอายุครบปี ได้รับวัคซีนครบชุด คิดเป็นร้อยละ ๙0 ยังเป็นปัญหาที่สำคัญที่ควรได้รับการแก้ไขซึ่งที่ผ่านมาการแก้ไขรูปแบบเดิมยังไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ทางศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลยะหริ่ง จึงจัดทำโครงการแก้ปัญหาเด็ก ๐-๕ ปี ขาดรับวัคซีนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ในเด็กเล็ก (0-3ปี)
- เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัคซีน มากขึ้น
- เพื่อให้เด็กอายุ0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการพ่อแม่ผู้ปกครอง ตำบลยามู ใส่ใจบุตร หมั่นพาลูกหลานมาฉีดวัคซีน ปีงบประมาณ 2567
- ประชุมทีมเพื่อหาแนวทางในการพัฒนางานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค แก่ทีมเครือข่ายอาสาสมัครร่วมโครงการ จำนวน 60 คน (คณะผู้ดำเนินรายการ 4 คน)
- ออกสำรวจข้อมูลพื้นฐานในการรับข้อมูลวัคซีน โดยอาสาสมัครสาธารณสุข ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ จำนวน 400 ชุด
- จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ0-5 ปี จำนวน 50 คน ที่ได้รับวัคซีนครบ และ ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ (คณะจัดกิจกรรมดำเนินงาน10 คน)
- ให้บริการวัคซีนเชิงรุกแก่เด็กอายุ 0 – 5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ โดยร่วมกับทีมเจ้าหน้าที่ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลยะหริ่งและอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน10คน X4
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ในเด็กเล็ก (0-3ปี)
2.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัคซีน มากขึ้น
3.เด็กอายุ0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมทีมเพื่อหาแนวทางในการพัฒนางานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค แก่ทีมเครือข่ายอาสาสมัครร่วมโครงการ จำนวน 60 คน (คณะผู้ดำเนินรายการ 4 คน)
วันที่ 7 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน X 60 บาท เป็นเงิน 3,600บาท
2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คนX 25บาท X 2 มื้อ เป็นเงิน 3,000บาท
3.ค่าป้ายโครงการขนาด1.2X2.5X 250 บาท เป็นเงิน 750บาท
4.ค่าสมนาคุณวิทยากรบรรยาย (บุคลากกรของรัฐ ) 2 คน 4ชั่วโมงX 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท
รวมเป็นเงิน 9,750บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ทีมงานทุกคนได้รับทราบแนวทางการพัฒนางานสร้างเสริมคุ้มกันโรค
60
0
2. ออกสำรวจข้อมูลพื้นฐานในการรับข้อมูลวัคซีน โดยอาสาสมัครสาธารณสุข ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ จำนวน 400 ชุด
วันที่ 8 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 20 คน X60 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม2มื้อ จำนวน 20 คน X 50 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
รวมเป็นเงิน 2,200 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ได้รับข้อมูลพื้นฐานในการฉีดวัคซีนในเด็ก
2.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูล
20
0
3. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ0-5 ปี จำนวน 50 คน ที่ได้รับวัคซีนครบ และ ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ (คณะจัดกิจกรรมดำเนินงาน10 คน)
วันที่ 20 ธันวาคม 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คนX 25 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
2.ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม ( แฟ้ม สมุด ปากกา) จำนวน 106 ชุด X 35 บาท เป็นเงิน 3,710บาท
3.ค่าป้ายโครงการขนาด1.2X2.5X 250 บาท เป็นเงิน 750 บาท
4.ค่าสมนาคุณวิทยากรบรรยาย (บุคลากกรของรัฐ ) 2ชั่วโมงX 600บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
รวมเป็นเงิน 7,160 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัคซีน มากขึ้น
60
0
4. ให้บริการวัคซีนเชิงรุกแก่เด็กอายุ 0 – 5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ โดยร่วมกับทีมเจ้าหน้าที่ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลยะหริ่งและอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน10คน X4
วันที่ 21 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 10 คนX 4ครั้ง X 60 บาท เป็นเงิน 2,400บาท
2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 10คนX 4ครั้ง X 25บาทX2มื้อ เป็นเงิน 2,000บาท
3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้ปกครองและเด็กที่มารับบริการในชุมชนจำนวน 20คนX 4 ครั้งX25 บาท เป็นเงิน 2,000บาท
รวมเป็นเงิน 6,400 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์
30
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มการได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ในเด็กเล็ก (0-3ปี)
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัคซีน มากขึ้น
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้เด็กอายุ0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ในเด็กเล็ก (0-3ปี) (2) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัคซีน มากขึ้น (3) เพื่อให้เด็กอายุ0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการพ่อแม่ผู้ปกครอง ตำบลยามู ใส่ใจบุตร หมั่นพาลูกหลานมาฉีดวัคซีน ปีงบประมาณ 2567 (2) ประชุมทีมเพื่อหาแนวทางในการพัฒนางานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค แก่ทีมเครือข่ายอาสาสมัครร่วมโครงการ จำนวน 60 คน (คณะผู้ดำเนินรายการ 4 คน) (3) ออกสำรวจข้อมูลพื้นฐานในการรับข้อมูลวัคซีน โดยอาสาสมัครสาธารณสุข ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ จำนวน 400 ชุด (4) จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ0-5 ปี จำนวน 50 คน ที่ได้รับวัคซีนครบ และ ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ (คณะจัดกิจกรรมดำเนินงาน10 คน) (5) ให้บริการวัคซีนเชิงรุกแก่เด็กอายุ 0 – 5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ โดยร่วมกับทีมเจ้าหน้าที่ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลยะหริ่งและอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน10คน X4
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพ่อแม่ผู้ปกครอง ตำบลยามู ใส่ใจบุตร หมั่นพาลูกหลานมาฉีดวัคซีน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 004/2567
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ชมรมอาสมัครสาธารณสุขตำบลยามู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพ่อแม่ผู้ปกครอง ตำบลยามู ใส่ใจบุตร หมั่นพาลูกหลานมาฉีดวัคซีน ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสมัครสาธารณสุขตำบลยามู
มกราคม 2567
ที่อยู่ ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 004/2567 เลขที่ข้อตกลง 002/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2566 ถึง 31 มกราคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพ่อแม่ผู้ปกครอง ตำบลยามู ใส่ใจบุตร หมั่นพาลูกหลานมาฉีดวัคซีน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยามู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพ่อแม่ผู้ปกครอง ตำบลยามู ใส่ใจบุตร หมั่นพาลูกหลานมาฉีดวัคซีน ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพ่อแม่ผู้ปกครอง ตำบลยามู ใส่ใจบุตร หมั่นพาลูกหลานมาฉีดวัคซีน ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 004/2567 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2566 - 31 มกราคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,510.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยามู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการประเมินผลการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตั้งแต่ปีงบประมาณ 2564-2566 ผลงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุครบ 1 ปี (fully immunized) คิดเป็นร้อยละ 64.71 , 51.76 ,42.05 ตามลำดับ จะเห็นได้ว่า ผลการดำเนินงานย้อนหลัง ๓ ปีมีแนวโน้มลดลงและยังไม่ผ่านตัวชี้วัดที่กระทรวงกำหนด คือ เด็กอายุครบปี ได้รับวัคซีนครบชุด คิดเป็นร้อยละ ๙0 ยังเป็นปัญหาที่สำคัญที่ควรได้รับการแก้ไขซึ่งที่ผ่านมาการแก้ไขรูปแบบเดิมยังไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ทางศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลยะหริ่ง จึงจัดทำโครงการแก้ปัญหาเด็ก ๐-๕ ปี ขาดรับวัคซีนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มการได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ในเด็กเล็ก (0-3ปี)
- เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัคซีน มากขึ้น
- เพื่อให้เด็กอายุ0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการพ่อแม่ผู้ปกครอง ตำบลยามู ใส่ใจบุตร หมั่นพาลูกหลานมาฉีดวัคซีน ปีงบประมาณ 2567
- ประชุมทีมเพื่อหาแนวทางในการพัฒนางานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค แก่ทีมเครือข่ายอาสาสมัครร่วมโครงการ จำนวน 60 คน (คณะผู้ดำเนินรายการ 4 คน)
- ออกสำรวจข้อมูลพื้นฐานในการรับข้อมูลวัคซีน โดยอาสาสมัครสาธารณสุข ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ จำนวน 400 ชุด
- จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ0-5 ปี จำนวน 50 คน ที่ได้รับวัคซีนครบ และ ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ (คณะจัดกิจกรรมดำเนินงาน10 คน)
- ให้บริการวัคซีนเชิงรุกแก่เด็กอายุ 0 – 5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ โดยร่วมกับทีมเจ้าหน้าที่ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลยะหริ่งและอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน10คน X4
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ในเด็กเล็ก (0-3ปี)
2.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัคซีน มากขึ้น
3.เด็กอายุ0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมทีมเพื่อหาแนวทางในการพัฒนางานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค แก่ทีมเครือข่ายอาสาสมัครร่วมโครงการ จำนวน 60 คน (คณะผู้ดำเนินรายการ 4 คน) |
||
วันที่ 7 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 60 คน X 60 บาท เป็นเงิน 3,600บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ทีมงานทุกคนได้รับทราบแนวทางการพัฒนางานสร้างเสริมคุ้มกันโรค
|
60 | 0 |
2. ออกสำรวจข้อมูลพื้นฐานในการรับข้อมูลวัคซีน โดยอาสาสมัครสาธารณสุข ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ จำนวน 400 ชุด |
||
วันที่ 8 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 20 คน X60 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ได้รับข้อมูลพื้นฐานในการฉีดวัคซีนในเด็ก 2.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือในการให้ข้อมูล
|
20 | 0 |
3. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ0-5 ปี จำนวน 50 คน ที่ได้รับวัคซีนครบ และ ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ (คณะจัดกิจกรรมดำเนินงาน10 คน) |
||
วันที่ 20 ธันวาคม 2566 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คนX 25 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
60 | 0 |
4. ให้บริการวัคซีนเชิงรุกแก่เด็กอายุ 0 – 5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ โดยร่วมกับทีมเจ้าหน้าที่ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลยะหริ่งและอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน10คน X4 |
||
วันที่ 21 ธันวาคม 2566 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 10 คนX 4ครั้ง X 60 บาท เป็นเงิน 2,400บาท รวมเป็นเงิน 6,400 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบชุดตามเกณฑ์
|
30 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มการได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ในเด็กเล็ก (0-3ปี) ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัคซีน มากขึ้น ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้เด็กอายุ0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ในเด็กเล็ก (0-3ปี) (2) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัคซีน มากขึ้น (3) เพื่อให้เด็กอายุ0-5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการพ่อแม่ผู้ปกครอง ตำบลยามู ใส่ใจบุตร หมั่นพาลูกหลานมาฉีดวัคซีน ปีงบประมาณ 2567 (2) ประชุมทีมเพื่อหาแนวทางในการพัฒนางานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค แก่ทีมเครือข่ายอาสาสมัครร่วมโครงการ จำนวน 60 คน (คณะผู้ดำเนินรายการ 4 คน) (3) ออกสำรวจข้อมูลพื้นฐานในการรับข้อมูลวัคซีน โดยอาสาสมัครสาธารณสุข ในพื้นที่ที่รับผิดชอบ จำนวน 400 ชุด (4) จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ0-5 ปี จำนวน 50 คน ที่ได้รับวัคซีนครบ และ ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ (คณะจัดกิจกรรมดำเนินงาน10 คน) (5) ให้บริการวัคซีนเชิงรุกแก่เด็กอายุ 0 – 5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ โดยร่วมกับทีมเจ้าหน้าที่ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลยะหริ่งและอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน10คน X4
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพ่อแม่ผู้ปกครอง ตำบลยามู ใส่ใจบุตร หมั่นพาลูกหลานมาฉีดวัคซีน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 004/2567
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ชมรมอาสมัครสาธารณสุขตำบลยามู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......