กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี


“ โครงการพอกเข่าด้วยสมุนไพรในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนุสบา สะมะแอ

ชื่อโครงการ โครงการพอกเข่าด้วยสมุนไพรในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2543-1-14 เลขที่ข้อตกลง 14/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 25 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพอกเข่าด้วยสมุนไพรในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพอกเข่าด้วยสมุนไพรในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพอกเข่าด้วยสมุนไพรในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2543-1-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 กุมภาพันธ์ 2567 - 25 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,170.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลก ปัจจุบันอัตราการเป็นโรคข้อเข่าเสื่อมมีจำนวน เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ขึ้น โดยโรคนี้ส่วนใหญ่จะพบในผู้สูงอายุ ซึ่งมีลักษณะทางคลินิกที่สำคัญ ได้แก่ ปวดข้อ ข้อฝืด มีปุ่มกระดูกงอกบริเวณข้อ การทำงานของข้อเสียไป และการเคลื่อนไหวลดลง ส่งผลให้เกิดโรคเรื้อรังที่มีสาเหตุมาจากความเสื่อมของร่างกายมากขึ้น รวมทั้งสภาพสังคม และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ซึ่งเป็นปัจจัยส่งเสริมให้เกิดโรคในกลุ่มโรคข้อและกระดูก อาทิ ความเร่งรีบในการใช้ชีวิต ประชากรขาดการใส่ใจในเรื่องของการรับประทานอาหาร ขาดการออกกำลังกายซึ่งจะส่งผลให้เกิดโรคมากขึ้น หรืออีกทางหนึ่งคือ ลักษณะการประกอบอาชีพที่ใช้แรงงาน อิริยาบถท่าทางต่าง ๆ ที่ไม่เหมาะสม ส่งผลให้มีแรงกระทำต่อข้อมากขึ้น กระตุ้นให้เกิดความเสื่อม และการสึกกร่อนของข้อ ซึ่งจะเกิดอาการปวดข้อตามมา แนวทางปฏิบัติทางคลินิกในการดูแลรักษาผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมของราชวิทยาลัยแพทย์ออร์โธปิดิกส์แห่งประเทศไทย ประกอบด้วยการบำบัดโดยไม่ใช้ยา (non-pharmacological therapy) การบำบัดด้วยการใช้ยา (pharmacological therapy) และการบำบัดโดยการผ่าตัด (surgical treatment) นอกจากการดูแลรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยการแพทย์แผนปัจจุบันแล้ว ยังมีการนำการแพทย์แบบผสมผสานมาใช้ในการดูแลรักษาผู้ป่วยมากขึ้น โดยเฉพาะศาสตร์การแพทย์แผนไทย ได้แก่ การรักษาด้วยการนวดไทย การประคบสมุนไพร กาใช้ยาสมุนไพรในท้องถิ่นเพื่อลดอาการปวดเข่า รวมถึงการทำหัตถการด้านการแพทย์แผนไทยต่าง ๆ เช่น การเผายา การกักน้ำมัน และการพอกยา ซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านใหม่จึงได้ทำโครงการพอกเข่าด้วยสมุนไพรในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม ซึ่งมีการนำสมุนไพรไทยที่สามารถหาได้ง่ายในชุมชน และมีสรรพคุณในการลดอาการปวด และการอักเสบมาใช้ในการรักษาอาการปวดเข่า โดยจะเลือกเป็นวิธีการพอกเข่า และเพื่อเป็นการส่งเสริมให้มีการใช้สมุนไพรไทยเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการดูแลสุขภาพของตนเอง อีกทั้งยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการรักษา และลดการพึ่งพาการใช้ยาแผนปัจจุบัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อบรรเทาอาการปวดเข่าในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม และผู้ป่วยที่มีอาการปวดเข่า
  2. 2.เพื่อส่งเสริมการนำสมุนไพรไทยมาใช้ในการดูแลตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดกรองผู้ป่วย และผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า (รุ่นที่1)
  2. อบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ และป้องกันอาการปวดเข่าในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม (ร่นที่1)
  3. พอกเข่าด้วยสมุนไพร (รุ่นที่ 1 )
  4. คัดกรองผู้ป่วย และผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า (รุ่นที่2)
  5. อบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ และป้องกันอาการปวดเข่าในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม (ร่นที่2)
  6. พอกเข่าด้วยสมุนไพร (รุ่นที่ 2 )

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มผู้สูงอายุและผู้ที่มีอาการปวดเข่ามีอาการปวดเข่าลดลง
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาใช้ในการรักษาอาการปวดเข่าได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อบรรเทาอาการปวดเข่าในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม และผู้ป่วยที่มีอาการปวดเข่า
ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้าร่วมโครงการที่รักษาอาการปวดเข่าด้วยการพอกยาสมุนไพรมีอาการปวดเข่าลดลง โดยมีค่าวัดระดับความเจ็บปวด Visual Rating Scales : VRS (pain scales) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
100.00 40.00

 

2 2.เพื่อส่งเสริมการนำสมุนไพรไทยมาใช้ในการดูแลตนเอง
ตัวชี้วัด : 2.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำสมุนไพรไทยมาดูแลรักษาตนเองในเบื้องต้น
100.00 40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อบรรเทาอาการปวดเข่าในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม และผู้ป่วยที่มีอาการปวดเข่า (2) 2.เพื่อส่งเสริมการนำสมุนไพรไทยมาใช้ในการดูแลตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองผู้ป่วย และผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า (รุ่นที่1) (2) อบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ และป้องกันอาการปวดเข่าในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม (ร่นที่1) (3) พอกเข่าด้วยสมุนไพร (รุ่นที่ 1 ) (4) คัดกรองผู้ป่วย และผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า (รุ่นที่2) (5) อบรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ และป้องกันอาการปวดเข่าในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม (ร่นที่2) (6) พอกเข่าด้วยสมุนไพร (รุ่นที่ 2 )

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพอกเข่าด้วยสมุนไพรในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2543-1-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนุสบา สะมะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด