กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ "หนูน้อยปฐมวัยสวมหมวกนิรภัยมีวินัยจราจร" ”
ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
น.ส.เจ๊ะรอฮีน๊ะ เจ๊ะฮะ




ชื่อโครงการ โครงการ "หนูน้อยปฐมวัยสวมหมวกนิรภัยมีวินัยจราจร"

ที่อยู่ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L2995-3-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ "หนูน้อยปฐมวัยสวมหมวกนิรภัยมีวินัยจราจร" จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ "หนูน้อยปฐมวัยสวมหมวกนิรภัยมีวินัยจราจร"



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)
1.เพื่อให้เด็กปฐมวัย ครูและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความปลอดภัยทางถนนและกระตุ้นให้ครูและผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการใส่หมวกนิรภัยให้กับเด็กเล็ก
2.สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการใส่หมวกนิรภัยและมีวินัยจราจรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวด
3.เพื่อส่งเสริมนโยบายในการรณรงค์ให้พื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นพื้นที่ปลอดภัยทางถนนด้วยการสวมหมวกนิรภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1)
1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการและงบประมาณ 2. ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน 3. จัดอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับการส่งเสริมนโยบายในการรณรงค์ให้พื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นพื้นที่ปลอดภัยทางถนนด้วยการสวมหมวกนิรภัย
4. สาธิตการสวมหมวกนิรภัยอย่างถูกวิธี และการสวมหมวกนิรภัยขณะขับขี่บนท้องถนน พร้อมกับเด็กและผู้ปกครองปฏิบัติตามวิธีการที่ถูกต้อง 5. สรุปผลการดำเนินโครงการ


ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรจัดโครงการนี้ต่อเนื่องในทุกๆปี

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลายประเทศทั่วโลกกำลังประสบปัญหาการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตขณะขับขี่ยานพาหนะสองล้อ เช่น รถจักรยาน และจักรยานยนต์ และการเสียชีวิตและบาดเจ็บสาหัสส่วนใหญ่มาจากอาการบาดเจ็บที่ศีรษะ ซึ่งหมวกนิรภัยมีประสิทธิภาพในการลดความเสี่ยงที่จะบาดเจ็บที่ศีรษะ และลดอาการรุนแรงของอาการบาดเจ็บลงได้ การส่งเสริมให้ผู้ขับขี่มีวินัยสวมหมวกนิรภัยมากขึ้น จึงเป็นวิธีการสำคัญ ในการเพิ่มความปลอดภัยบนท้องถนน และเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการลดการเสียชีวิตและการบาดเจ็บที่ศีรษะอันเนื่องมาจากอุบัติเหตุ ผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ที่ไม่สวมหมวกนิรภัยยังเพิ่มภาระให้แก่โรงพยาบาลที่รับตัวเข้ารักษา เป็นภาระแก่บุคลากร ครอบครัว (หรือผู้ดูแล) และสังคม กลายเป็นคนพิการ ส่วนสาเหตุการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนนในประเทศไทย ๙๙% เกิดจากการไม่สวมหมวกนิรภัย โดยรายงานของสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย) ยังเผยว่า มีเด็กไทยเพียง ๗% เท่านั้นที่ใส่หมวกนิรภัยระหว่างการเดินทาง ซึ่งอัตราการใช้หมวกนิรภัยจำนวนน้อยนี่เอง สะท้อนให้เห็นถึงความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ว่าภัยอันตรายรอบตัวนั้นสามารถเกิดขึ้นได้แบบไม่คาดฝัน และเป็นเรื่องที่น่ากังวลที่พ่อแม่ ผู้ปกครองหลายๆคนไม่ตระหนักถึงความสำคัญในการให้บุตรหลายสวมใส่หมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยจักรยานยนต์ แล้วก็ยังมีอีกหลายครอบครัวที่แม้จะสวมหมวกนิรภัยให้เด็ก แต่ไม่รู้ว่าจะเลือกใช้หมวกนิรภัยที่มีคุณภาพ มีขนาดพอดีกับขนาดศีรษะเด็ก และจะสวมใส่หมวกนิรภัยให้เด็กอย่างถูกวิธีได้อย่างไร และพฤติกรรมการขับขี่ที่ประมาท ขาดความระมัดระวัง ชะล่าใจ ขับขี่ด้วยความเร็ว การฝ่าสัญญาณไฟ การขับขี่ช่องจราจรที่ไม่ถูกต้อง และการเปลี่ยนช่องทางจราจรโดยไม่เปิดสัญญาณไฟ เนื่องจากอาจเข้าใจว่า เป็นพื้นที่ที่การจราจรไม่ได้หนาแน่นเหมือนในเมือง เป็นต้น ด้วยเหตุนี้การรณรงค์ส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยและได้มาตรฐาน รวมถึงการเรียนรู้วิธีการใช้ถนนอย่างถูกต้อง จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการป้องกันและสร้างความตระหนักถึงความปลอดภัยบนท้องถนนเพื่อลดการสูญเสียจากอุบัติเหตุ ดังนั้น เพื่อกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่ถูกต้องในการใช้ถนน การสร้างความรู้ความเข้าใจแก่เด็ก พ่อแม่และผู้ปกครองให้เห็นถึงความสำคัญของการใช้หมวกนิรภัย พร้อมอบรมวินัยจราจร ซึ่งเป็นเรื่องจำเป็นอย่างมากในการช่วยลดการเกิดอุบัติเหตุและจำนวนตัวเลขผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตในเด็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กที่ถือเป็นอนาคตของชาติ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวด ตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างความปลอดภัยบนท้องถนนของเด็กปฐมวัย จึงได้จัดทำ โครงการหนูน้อยปฐมวัยสวมหมวกนิรภัยมีวินัยจราจร ประจำปีงบประมาณ 2567 ขึ้น โดยการจัดอบรมให้ความรู้ด้านความปลอดภัยทางท้องถนนและการสาธิตการใช้หมวกนิรภัยให้กับครู เด็กปฐมวัยและผู้ปกครอง โดยเน้นให้เด็กๆ เป็นศูนย์กลาง ส่วนครูและผู้ปกครองจะทำหน้าที่เป็นผู้ดูแลและให้ความรู้ที่ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เด็กๆ ได้เดินทางไปกลับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้อย่างปลอดภัย และหวังจะลดจำนวนการบาดเจ็บและเสียชีวิตของเด็กไทยจากอุบัติเหตุทางถนน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เด็กปฐมวัย ครูและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความปลอดภัยทางถนนและกระตุ้นให้ครูและผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการใส่หมวกนิรภัยให้กับเด็กเล็ก 2.สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการใส่หมวกนิรภัยและมีวินัยจราจรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวด 3.เพื่อส่งเสริมนโยบายในการรณรงค์ให้พื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นพื้นที่ปลอดภัยทางถนนด้วยการสวมหมวกนิรภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับการส่งเสริมนโยบายในการรณรงค์ให้พื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นพื้นที่ปลอดภัยทางถนนด้วยการสวมหมวกนิรภัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 118
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการและงบประมาณ
  2. ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
  3. จัดอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับการส่งเสริมนโยบายในการรณรงค์ให้พื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นพื้นที่ปลอดภัยทางถนนด้วยการสวมหมวกนิรภัย
  4. สาธิตการสวมหมวกนิรภัยอย่างถูกวิธี และการสวมหมวกนิรภัยขณะขับขี่บนท้องถนน พร้อมกับเด็กและผู้ปกครองปฏิบัติตามวิธีการที่ถูกต้อง
  5. สรุปผลการดำเนินโครงการ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับการส่งเสริมนโยบายในการรณรงค์ให้พื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นพื้นที่ปลอดภัยทางถนนด้วยการสวมหมวกนิรภัย

วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 25 กรกฏาคม 2567 ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวด ได้จัดโครงการหนูน้อยปฐมวัยสวมหมวกนิรภัยมีวินัยจราจร ประจำปีงบประมาณ 2567  โดยจัดกิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับการป้องกันและการกำจัดเหา ในกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 118 คน ณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้ปกครองได้รับทราบถึงข้อตกลงต่างๆ ในการนำบุตรหลานเข้าเตรียมความพร้อมในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเข้าใจถึงความสำคัญในการส่งบุตรหลานเข้าเตรียมความพร้อมในช่วงปฐมวัยผ่านกิจกรรมที่จัดขึ้น
  2. เด็กเล็กและผู้ปกครองได้ร่วมทำกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเล็กและการดูแลเด็กเล็กร่วมกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อพัฒนาการที่ดีของเด็กเล็ก
  3. ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาสำหรับเด็กเล็กให้มีความพร้อมในการศึกษาในระดับสูงต่อไป

 

118 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เด็กปฐมวัย ครูและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความปลอดภัยทางถนนและกระตุ้นให้ครูและผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการใส่หมวกนิรภัยให้กับเด็กเล็ก 2.สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการใส่หมวกนิรภัยและมีวินัยจราจรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวด 3.เพื่อส่งเสริมนโยบายในการรณรงค์ให้พื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นพื้นที่ปลอดภัยทางถนนด้วยการสวมหมวกนิรภัย
ตัวชี้วัด :
100.00

เด็กปฐมวัย ครูและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความปลอดภัยทางถนนและกระตุ้นให้ครูและผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการใส่หมวกนิรภัยให้กับเด็กเล็ก

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 118 118
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 118 118
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)
1.เพื่อให้เด็กปฐมวัย ครูและผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักถึงความปลอดภัยทางถนนและกระตุ้นให้ครูและผู้ปกครองเห็นความสำคัญของการใส่หมวกนิรภัยให้กับเด็กเล็ก
2.สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยในการใส่หมวกนิรภัยและมีวินัยจราจรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบางมะรวด
3.เพื่อส่งเสริมนโยบายในการรณรงค์ให้พื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นพื้นที่ปลอดภัยทางถนนด้วยการสวมหมวกนิรภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1)
1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการและงบประมาณ 2. ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน 3. จัดอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับการส่งเสริมนโยบายในการรณรงค์ให้พื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นพื้นที่ปลอดภัยทางถนนด้วยการสวมหมวกนิรภัย
4. สาธิตการสวมหมวกนิรภัยอย่างถูกวิธี และการสวมหมวกนิรภัยขณะขับขี่บนท้องถนน พร้อมกับเด็กและผู้ปกครองปฏิบัติตามวิธีการที่ถูกต้อง 5. สรุปผลการดำเนินโครงการ


ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรจัดโครงการนี้ต่อเนื่องในทุกๆปี

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ "หนูน้อยปฐมวัยสวมหมวกนิรภัยมีวินัยจราจร" จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L2995-3-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น.ส.เจ๊ะรอฮีน๊ะ เจ๊ะฮะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด