โครงการการป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (TO BE NUMBER ONE)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (TO BE NUMBER ONE) ”
ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอินดรา หามะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการการป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (TO BE NUMBER ONE)
ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67 - L4138 – 01 - 02 เลขที่ข้อตกลง 003/67
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (TO BE NUMBER ONE) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (TO BE NUMBER ONE)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (TO BE NUMBER ONE) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67 - L4138 – 01 - 02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องด้วยสภาพสังคมปัจจุบันยาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เข้ามามีผลทำให้สภาพร่างกายและจิตใจของเยาวชนจำนวนมากเสื่อมถอยลง เยาวชนที่ติดยาเสพติดอยู่ในสถานที่ไม่สามารถจะพัฒนาการศึกษาได้ กลายเป็นบุคคลที่สังคมรังเกียจ ส่วนเยาวชนที่ใช้ชีวิตมักง่ายสำส่อนทางเพศหรือถูกล่อลวงไปสู่การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ระมัดระวังหรือไม่ป้องกันตนเองก็มีโอกาสสูงที่จะติดเชื้อเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การดำเนินการเพื่อลดการแพร่ระบาดของยาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การดำเนินการเพื่อลดการแพร่ระบาดของยาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ อย่างต่อเนื่องเป็นสิ่งที่ยาก มีเด็กและเยาวชนจำนวนมาก ที่มีพฤติกรรมการเสพยาเสพติดและพฤติกรรมการมั่วสมทางเพศจำนวนมาก ซึ่งทุกฝ่ายมีความมุ่งหวังที่จะปกป้องเยาวชนให้พ้นจากการถูกชักจูง ล่อลวงให้ใช้สารเสพติด ให้รู้จักการป้องกันตนเองรู้ทันการถูกบังคับล่อล่วงให้มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร เพื่อป้องกันการติดเชื้อเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ นั้น
ในการนี้ องค์กาารบริหารส่วนตำบลยะลา ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหายาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาต่อผู้ป่วย และส่งผลกระทบต่อสังคมและเศรษฐกิจของประเทศชาติ จึงได้ขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยะลา เพื่อจัดโครงการการป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนตำบลยะลา มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอันตรายของยาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
- เพื่อให้เด็กนักเรียนและเยาวชนตำบลยะลา รู้จักวิธีการป้องกันและห่างไกลยาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- อบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4,5,6 โรงเรียนบ้านปาโจ และโรงเรียนบ้านยะลา จำนวน 200 คน โดยดำเนินการจัดกิจกรรมเป็น 2 รุ่น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
146
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนและเยาวชนตำบลยะลา ห่างไกลจากยาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
- ลดจำนวนอัตรานักเสพรายใหม่ของเด็กนักเรียนและเยาวชนในพื้นที่ตำบลยะลา
- ลดจำนวนอัตราการเกิดโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของเด็กนักเรียนและเยาวชนในพื้นที่ตำบลยะลา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4,5,6 โรงเรียนบ้านปาโจ และโรงเรียนบ้านยะลา
วันที่ 9 กันยายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4,5,6 โรงเรียนบ้านปาโจ (วันที่ 9 กันยายน 2567)และโรงเรียนบ้านยะลา (วันที่ 11 กันยายน 2567) โดยดำเนินการจัดกิจกรรมเป็น 2 รุ่น ในหัวข้อเรื่องดังนี้
1) บรรยายความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
2) บรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
3) แบ่งกลุ่มทำกิจกรรมเกี่ยวกับการลดปัญหายาเสพติด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงโทษเกี่ยวกับโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงโทษเกี่ยวกับปัญหายาเสพติด
- นักเรียนรู้จักวิธีการป้องกันและห่างไกลตัวเองจากยาเสพติด
146
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็กและเยาวชนตำบลยะลา มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอันตรายของยาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนตำบลยะลา มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอันตรายของยาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
80.00
90.00
2
เพื่อให้เด็กนักเรียนและเยาวชนตำบลยะลา รู้จักวิธีการป้องกันและห่างไกลยาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนและเยาวชนตำบลยะลา รู้จักวิธีการป้องกันและห่างไกลยาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
80.00
90.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
146
146
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
146
146
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนตำบลยะลา มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอันตรายของยาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (2) เพื่อให้เด็กนักเรียนและเยาวชนตำบลยะลา รู้จักวิธีการป้องกันและห่างไกลยาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) อบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4,5,6 โรงเรียนบ้านปาโจ และโรงเรียนบ้านยะลา จำนวน 200 คน โดยดำเนินการจัดกิจกรรมเป็น 2 รุ่น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (TO BE NUMBER ONE) จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67 - L4138 – 01 - 02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอินดรา หามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (TO BE NUMBER ONE) ”
ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอินดรา หามะ
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67 - L4138 – 01 - 02 เลขที่ข้อตกลง 003/67
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (TO BE NUMBER ONE) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (TO BE NUMBER ONE)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (TO BE NUMBER ONE) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67 - L4138 – 01 - 02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องด้วยสภาพสังคมปัจจุบันยาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เข้ามามีผลทำให้สภาพร่างกายและจิตใจของเยาวชนจำนวนมากเสื่อมถอยลง เยาวชนที่ติดยาเสพติดอยู่ในสถานที่ไม่สามารถจะพัฒนาการศึกษาได้ กลายเป็นบุคคลที่สังคมรังเกียจ ส่วนเยาวชนที่ใช้ชีวิตมักง่ายสำส่อนทางเพศหรือถูกล่อลวงไปสู่การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ระมัดระวังหรือไม่ป้องกันตนเองก็มีโอกาสสูงที่จะติดเชื้อเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การดำเนินการเพื่อลดการแพร่ระบาดของยาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การดำเนินการเพื่อลดการแพร่ระบาดของยาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ อย่างต่อเนื่องเป็นสิ่งที่ยาก มีเด็กและเยาวชนจำนวนมาก ที่มีพฤติกรรมการเสพยาเสพติดและพฤติกรรมการมั่วสมทางเพศจำนวนมาก ซึ่งทุกฝ่ายมีความมุ่งหวังที่จะปกป้องเยาวชนให้พ้นจากการถูกชักจูง ล่อลวงให้ใช้สารเสพติด ให้รู้จักการป้องกันตนเองรู้ทันการถูกบังคับล่อล่วงให้มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร เพื่อป้องกันการติดเชื้อเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ นั้น
ในการนี้ องค์กาารบริหารส่วนตำบลยะลา ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหายาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาต่อผู้ป่วย และส่งผลกระทบต่อสังคมและเศรษฐกิจของประเทศชาติ จึงได้ขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลยะลา เพื่อจัดโครงการการป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กและเยาวชนตำบลยะลา มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอันตรายของยาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
- เพื่อให้เด็กนักเรียนและเยาวชนตำบลยะลา รู้จักวิธีการป้องกันและห่างไกลยาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- อบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4,5,6 โรงเรียนบ้านปาโจ และโรงเรียนบ้านยะลา จำนวน 200 คน โดยดำเนินการจัดกิจกรรมเป็น 2 รุ่น
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 146 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนและเยาวชนตำบลยะลา ห่างไกลจากยาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
- ลดจำนวนอัตรานักเสพรายใหม่ของเด็กนักเรียนและเยาวชนในพื้นที่ตำบลยะลา
- ลดจำนวนอัตราการเกิดโรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของเด็กนักเรียนและเยาวชนในพื้นที่ตำบลยะลา
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4,5,6 โรงเรียนบ้านปาโจ และโรงเรียนบ้านยะลา |
||
วันที่ 9 กันยายน 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4,5,6 โรงเรียนบ้านปาโจ (วันที่ 9 กันยายน 2567)และโรงเรียนบ้านยะลา (วันที่ 11 กันยายน 2567) โดยดำเนินการจัดกิจกรรมเป็น 2 รุ่น ในหัวข้อเรื่องดังนี้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
146 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กและเยาวชนตำบลยะลา มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอันตรายของยาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนตำบลยะลา มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอันตรายของยาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ |
80.00 | 90.00 |
|
|
2 | เพื่อให้เด็กนักเรียนและเยาวชนตำบลยะลา รู้จักวิธีการป้องกันและห่างไกลยาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนและเยาวชนตำบลยะลา รู้จักวิธีการป้องกันและห่างไกลยาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ |
80.00 | 90.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 146 | 146 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 146 | 146 | |
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนตำบลยะลา มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอันตรายของยาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (2) เพื่อให้เด็กนักเรียนและเยาวชนตำบลยะลา รู้จักวิธีการป้องกันและห่างไกลยาเสพติด โรคเอดส์ และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) อบรมให้ความรู้แก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4,5,6 โรงเรียนบ้านปาโจ และโรงเรียนบ้านยะลา จำนวน 200 คน โดยดำเนินการจัดกิจกรรมเป็น 2 รุ่น
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติด โรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (TO BE NUMBER ONE) จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67 - L4138 – 01 - 02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอินดรา หามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......