กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมจัดซื้อเคมีภัณฑ์ เพื่อใช้ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงและพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวเต็มวัย1 เมษายน 2567
1
เมษายน 2567รายงานจากพื้นที่ โดย ฝ่ายป้องกันและควบคุมโรค เทศบาลนครหาดใหญ่
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

1.ค่าเคมีภัณฑ์กำจัดยุงตัวเต็มวัย (ขนาด 1 ลิตร/ขวด) จำนวน 170 ขวด ๆ ละ 1,650 บาท   เป็นเงิน 280,500 บาท 2.ค่าสเปรย์พ่นยุง (ขนาด 300 ซีซี/กระป๋อง) จำนวน 150 กระป๋อง ราคาขวดละ 70 บาท   เป็นเงิน 10,500 บาท 3.ค่าโลชั่นทากันยุง (ขนาด 8 มล./ซอง) จำนวน 900 ซอง ซองละ 5 บาท   เป็นเงิน 4,500 บาท 4.ค่าทรายกำจัดลูกน้ำ (ขนาด 50 กรัม/ซอง) จำนวน 25,000 ซอง ราคาซองละ 6 บาท
  เป็นเงิน 150,000 บาท   รวมเป็นเงินทั้้งสิ้น 445,500 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. อัตราการเกิดโรคที่มียุงลายเป็นพาหะลดลงเปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินโครงการ
  2. ประชาชนเกิดความตระหนัก และสร้างความร่วมมือในชุมชนตลอดจนมีความรู้ และพฤติกรรมในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
  3. เกิดการบูรณาการจากภาคส่วนต่าง ๆ มีการสร้างเครือข่ายในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงเพื่อป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
  4. สร้างความรับผิดชอบและความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในโรงเรียน
กิจกรรมเดินรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน(ป้องกันโรคล่วงหน้าก่อนการระบาด)11 มีนาคม 2567
11
มีนาคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย ฝ่ายป้องกันและควบคุมโรค เทศบาลนครหาดใหญ่
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จกรรมเดินรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน 1. วันที่ 11 มีนาคม 2567 ชุมชนสัจจกุล เขต 4 2. วันที่ 13 มีนาคม 2567 ชุมชนบ้านฉาง เขต 4 3. วันที่ 15 มีนาคม 2567 ชุมชนขนส่ง เขต 3 4. วันที่ 18 มีนาคม 2567 ชุมชนทุ่งเสา เขต 3 5. วันที่  20 มีนาคม 2567 ชุมชนกลางนา เขต 2 6. วันที่ 22 มีนาคม 2567 ชุมชนกิมหยง-สันติสุข เขต 2 7. วันที่ 25 มีนาคม 2567 ชุมชนหลังสนามกีฬากลาง เขต 1 8. วันที่ 27 มีนาคม 2567 ชุมชนพรุแม่สอน เขต 1

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. อัตราการเกิดโรคที่มียุงลายเป็นพาหะลดลงเปรียบเทียบก่อนและหลังดำเนินโครงการ
  2. ประชาชนเกิดความตระหนัก และสร้างความร่วมมือในชุมชนตลอดจนมีความรู้ และพฤติกรรมในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
  3. เกิดการบูรณาการจากภาคส่วนต่าง ๆ มีการสร้างเครือข่ายในการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงเพื่อป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ
  4. สร้างความรับผิดชอบและความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคที่มียุงลายเป็นพาหะในโรงเรียน