กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ชมรมผู้สูงอายุชุมชนเขต 3 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ





ชื่อโครงการ ผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ชมรมผู้สูงอายุชุมชนเขต 3 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"ผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ชมรมผู้สูงอายุชุมชนเขต 3 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ชมรมผู้สูงอายุชุมชนเขต 3 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567



บทคัดย่อ

โครงการ " ผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ชมรมผู้สูงอายุชุมชนเขต 3 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 59,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยพร้อมเข้าสู่ระบบผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์จากการที่มีสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โครงสร้างประชากรของผู้สูงอายุในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ พบว่าผู้สูงอายุมีอายุยืนยาวมากขึ้นและมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี ถือได้ว่าก้าวเข้าสู่สังคมของผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุเขต 1 จึงตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ โดยมีเทศบาลนครหาดใหญ่ในการกำหนดแผนงานพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุภายใต้กิจกรรมโครงการ ซึ่งมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเตรียมความพร้อมรองรับการเป็นสังคมผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคต่างๆ จากความเสื่อมตามธรรมชาติและโรคประจำตัวเรื้อรัง ผู้สูงอายุควรดูแลตนเอง ควรมีการได้รับการดูแลและการส่งเสริมสุขภาพ     การส่งเสริมสุขภาพให้ครอบคลุมด้านร่างกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณ เพื่อชะลอการเสื่อมถอย จึงเป็นทางเลือกหนึ่งสำหรับผู้สูงอายุ ในการตอบโจทย์ปัญหาหรือความต้องการด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณของผู้สูงอายุ โดยการใช้การส่งเสริมสุขภาพด้วยหลัก 6 ประเด็นสำคัญ คือ โภชนาการดี การเคลื่อนไหวดี สุขภาพช่องปากดี สมองดี การนอนหลับดีมีความสุข และมีสิ่งแวดล้อมที่ดี การตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ในการส่งเสริมดูแลผู้สูงอายุให้มีคุณค่าต่อตนเอง โดยมุ่งเสริมสุขภาพจิตใจการอยู่ในสังคมโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วม ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน เพื่อดูแลผู้สูงอายุในระยะยาวมุ่งหวังการดำเนินกิจกรรมเพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงบริการด้านสุขภาพร่างกายและสร้างความสุขต่อจิตใจ มีการพึ่งพาอาศัยกันและกัน เกิดความสามัคคีขึ้นในหมู่คณะและชุมชน
      ชมรมผู้สูงอายุชุมชน เขต 3 เทศบาลนครหาดใหญ่ เห็นความสำคัญของการการส่งเสริมสุขภาพในผู้สูงอายุ  เพื่อลดอัตราการเกิดโรค การป้องกันภาวะเสี่ยงทั้งด้านร่างกายและจิตใจ และการมีสุขภาพที่ดี จึงได้จัดโครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ชมรมผู้สูงอายุชุมชนเขต 3 ประจำปีงบประมาณ 2567 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านสุขภาพคลอบคลุมกาย จิต สังคม มีสุขภาพดี สามารถดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
  2. 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการประเมินสุขภาพเบื้องต้น ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
  3. 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้และส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจและเกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพ ได้รู้จักวิธีในการดูแลตนเองทั้งกาย จิตใจ สังคม มีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีโอกาสได้พบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ร่วมกันและทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง
      ครอบครัว ชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้และส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

วันที่ 1 ธันวาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

-กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ 4 มิติ (สุุขภาพ สังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ ) -ตรวจคัดกรองสุขภาพตนเอง/ประเมินพฤติกรรมสุขภาพและจัดทำทะเบียนสุขภาพด้านกิจกรรมทางโภชนาการ สมองเสื่อม การเคลื่อนไหว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ให้ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านสุขภาพครอบคลุมกาย จิต สังคม มีสุขภาพดี สามารถดูแลตนเองได้ และได้รับการประเมินสุขภาพเบื่้องต้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านสุขภาพคลอบคลุมกาย จิต สังคม มีสุขภาพดี สามารถดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ตัวชี้วัด : -ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 ได้รับการประเมินสุขภาพกาย จิต สังคม

 

2 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการประเมินสุขภาพเบื้องต้น ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : -ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 60 ได้รับการส่งต่อและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

 

3 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน
ตัวชี้วัด : - ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพตนเอง -ประเมินความพึงพอใจ โดยผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมโครงการ ระดับมาก - มากที่สุด

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านสุขภาพคลอบคลุมกาย จิต สังคม  มีสุขภาพดี  สามารถดูแลตนเองได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการประเมินสุขภาพเบื้องต้น ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (3) 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสพบปะแลกเปลี่ยนเรียนรู้และทำกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้และส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ผู้สูงอายุสุขภาพดี ชีวีมีสุข ชมรมผู้สูงอายุชุมชนเขต 3 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด