กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
งานสัตวแพทย์ ฝ่ายบริการสิ่งแวดล้อม




ชื่อโครงการ ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7258-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 15 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7258-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2566 - 15 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 836,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อบรรเทาปัญหาและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากลิง มีการทำทะเบียนประชากรลิง รูปพรรณ และสักบนผิวหนัง และทราบจำนวนประชากรลิงในบริเวณสวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่
  2. เพื่อควบคุมประชากรลิงให้เหมาะสมกับพื้นที่ ซึ่งเป็นกระบวนการควบคุมประชากรลิงป่ามิให้เพิ่มจำนวนจนถึงวาระประชากรล้น ด้วยการคุมกำเนิดลิงโดยวิธีการทำหมันถาวร ทั้งในเพศผู้และเพศเมีย ด้วยการผ่าตัด แบบไม่ส่งผลต่อการลดพฤติกรรมทางเพศ และปล่อยคืนสู่ป่า โดยมีเป้าหมายลิงทั้งเพศผู้และเมียจำนวน 150 ตัว
  3. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน(Zoonosis) และมุ่งเน้นเป็นมาตรฐานและมาตรการในการป้องกันโรค เช่น - มาลาเรียโนวไซ PK ตรวจ 150 ตัวอย่าง - โรคพิษสุนัขบ้า Rabies สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ไวรัสเฮอร์ปี่ Herpes virus สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ตับอักเสบ Hepatitis สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ฝีดาษวานร Monkey Pox สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - พยาธิเม็ดเลือด Blood Parasite สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - เมลีออยด์ Meliodosrs สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้
  4. เพื่อการเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ ตรวจหาเชื้อมาลาเรียโนวไซ(PK) โดยการเก็บตัวอย่างเลือดลิงโดย กองโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่12 จ.สงขลา(กรมควบคุมโรค)
  5. เพื่อแก้ปัญหาลิงที่เข้ามาสร้างความเดือดร้อนแก่ประชาชน นักท่องเที่ยว ที่มาใช้บริการบริเวณสวนสาธารณะ เทศบาลนครหาดใหญ่
  6. สร้างความเข้าใจกับชาวบ้านในชุมชน/นักท่องเที่ยวในเรื่องของการให้อาหารลิง โดยการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับพฤติกรรมลิง การอยู่ร่วมกันของคนและลิง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมเตรียมความพร้อม
  2. กิจกรรมการประชาสัมพันธ์(ค่าไวนิล)
  3. กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอาหารลิง)
  4. กิจกรรมทำหมันลิง(เวชภัณฑ์และวัสดุยา)
  5. กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง)
  6. กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าตอบแทน)
  7. กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าที่พัก)
  8. กิจกรรมการตรวจโรค(ค่าตรวจโรค)
  9. กิจกรรมการตรวจโรค(ค่าส่งตรวจ)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 300
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดความก้าวร้าวของลิง เพื่อลดปัญหาการสร้างความเดือดร้อนให้แก่ประชาชน
  2. จำนวนประชากรลิงลดจำนวนลง
  3. เพื่อป้องกันความเสี่ยงสำหรับโรคสัตว์สู่คน
  4. ผลการตรวจเลือดในลิงที่จับได้ เพื่อทราบว่าลิงในกลุ่มดังกล่าว มีเชื้อมาลาเรียโนวไซ(PK) สำหรับการป้องกันในเรื่องของโรคจากสัตว์สู่คน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมการตรวจโรค(ค่าส่งตรวจ)

วันที่ 18 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าส่งเลือดลิงที่ทำหมันจำนวน 5 โรค จำนวน 15 ตัวอย่าง ไปยังสถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ กรุงเทพมหานคร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถส่งเลือดที่สุ่มจากลิงที่ทำหมันไปยังสถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ กรุงเทพมหานคร ได้อย่างปลอดภัย

 

0 0

2. กิจกรรมการประชาสัมพันธ์(ค่าไวนิล)

วันที่ 8 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ไวนิล ขนาด 300 x 100 ซม.
- สำหรับติดในบริเวณสวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ - จำนวน 10 ผืน ผืนละ 450 บาท   เป็นเงิน 4,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อติดแจ้งประชาชนให้ทราบว่าเจ้าหน้าที่กำลังปฏิบัติหน้าที่ตามโครงการดังกล่าวเพื่อความปลอดภัยของประชาชนและให้ประชาชนเข้าใจในสิ่งที่เจ้าหน้าที่กำลังปฏิบัติอยู่

 

0 0

3. กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอาหารลิง)

วันที่ 8 กรกฎาคม 2567 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารลิง เช่น ผลไม้ตามฤดูกาล, อาหารสุนัข(ไว้สำหรับลิงกิน) เป้าหมายลิงจำนวน 150-200 ตัว ระยะเวลา 10 วัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ใช้อาหารเป็นตัวกลางในการล่อให้ลิงออกมาที่กรงดัก เพื่อจับไปทำหมันได้

 

0 0

4. กิจกรรมทำหมันลิง(เวชภัณฑ์และวัสดุยา)

วันที่ 8 กรกฎาคม 2567 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าเวชภัณฑ์ปละวัสดุยา เช่นยาสลบ, ยาซึม ยาถ่ายพยาธิ, ยาฆ่าเชื้อ, อุปกรณ์ในการผ่าตัด, แผ่นรองซับ ฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถใช้เวชภัณฑ์และวัสดุยากับการผ่าตัดทำหมันลิงได้ตามเป้าหมาย

 

0 0

5. กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง)

วันที่ 8 กรกฎาคม 2567 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง จำนวน 10 วัน สำหรับเจ้าหน้าที่หน่วยงานภายนอก - รถกระบะ จำนวน 4 คัน - รถบรรทุก จำนวน 1 คัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป็นเชื้อเพลิงสำหรับเจ้าหน้าที่หน่วยงานภายนอกในการใช้รถสำหรับทำหมันลิง เคลื่อนย้ายลิง หรือตรวจสอบแต่ละจุดที่ดักจับลิง

 

0 0

6. กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าตอบแทน)

วันที่ 8 กรกฎาคม 2567 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตอบแทนสำหรับเจ้าหน้าหน่วยงานภายนอก จำนวน 20 คน คนละ 240บาท / วัน วันละ 4,800 บาท จำนวน 10 วัน 48,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ค่าตอบแทนสำหรับเจ้าหน้าที่หน่วยงานภายนอกที่ร่วมโครงการทำหมันลิง
1.เจ้าหน้าที่วางกรงดักจับ 2. ทีมสัตวแพทย์ ผู้ช่วยจากกรมอุทยานแห่งชาติ (วางยาสลบลิง, เตรียมตัวสัตว์ก่อนผ่าตัด, ทีมดูแลสัตว์หลังผ่าตัด) 3.เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล ทำประวัติลิง ทำเครื่องหมายประจำตัวลิง

 

0 0

7. กิจกรรมการตรวจโรค(ค่าตรวจโรค)

วันที่ 8 กรกฎาคม 2567 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าตรวจโรคที่สำคัญ จำนวน 3 โรค จำนวน 15 ตัวอย่าง โดยตัวอย่างมาจากลิงที่ทำหมัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทราบผลการตรวจเลือดของลิงในบริเวณพื้นที่ โดยที่เป็นโรคความเสี่ยงที่สามารถแพร่เชื้อสู่คนได้ โดยส่งตรวจกับทาง สถาบันสุขภาพสัตว์แห่งชาติ กรุงเทพมหานคร

 

0 0

8. กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าที่พัก)

วันที่ 8 กรกฎาคม 2567 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ค่าที่พัก - ค่าที่พักเหมาจ่ายคืนละ 800 บาท/คน   เจ้าหน้าที่ 20 คน   จำนวน 10 วัน
****1.เจ้าหน้าที่วางกรงดักจับ 2. ทีมสัตวแพทย์ ผู้ช่วยจากกรมอุทยานแห่งชาติ (วางยาสลบลิง, เตรียมตัวสัตว์ก่อนผ่าตัด, ทีมดูแลสัตว์หลังผ่าตัด) 3.เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล ทำประวัติลิง ทำเครื่องหมายประจำตัวลิง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เจ้าหน้าที่หน่วยงานภายนอกสามารถเข้าพักได้ระหว่างการทำโครงการทำหมันลิง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อบรรเทาปัญหาและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากลิง มีการทำทะเบียนประชากรลิง รูปพรรณ และสักบนผิวหนัง และทราบจำนวนประชากรลิงในบริเวณสวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่
ตัวชี้วัด : ลดความก้าวร้าวของลิง และมีการทำทะเบียนประชากรลิงเพื่อรู้จำนวนประชากรลิงในบริเวณพื้นที่สวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่

 

2 เพื่อควบคุมประชากรลิงให้เหมาะสมกับพื้นที่ ซึ่งเป็นกระบวนการควบคุมประชากรลิงป่ามิให้เพิ่มจำนวนจนถึงวาระประชากรล้น ด้วยการคุมกำเนิดลิงโดยวิธีการทำหมันถาวร ทั้งในเพศผู้และเพศเมีย ด้วยการผ่าตัด แบบไม่ส่งผลต่อการลดพฤติกรรมทางเพศ และปล่อยคืนสู่ป่า โดยมีเป้าหมายลิงทั้งเพศผู้และเมียจำนวน 150 ตัว
ตัวชี้วัด : จำนวนประชากรลิงลดจำนวนลง

 

3 เพื่อส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน(Zoonosis) และมุ่งเน้นเป็นมาตรฐานและมาตรการในการป้องกันโรค เช่น - มาลาเรียโนวไซ PK ตรวจ 150 ตัวอย่าง - โรคพิษสุนัขบ้า Rabies สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ไวรัสเฮอร์ปี่ Herpes virus สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ตับอักเสบ Hepatitis สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ฝีดาษวานร Monkey Pox สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - พยาธิเม็ดเลือด Blood Parasite สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - เมลีออยด์ Meliodosrs สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้
ตัวชี้วัด : ทราบว่าลิงที่อาศัยอยู่ในบริเวณสวนสาธารณะ เทศบาลนครหาดใหญ่ มีความเสี่ยงต่อโรคสัตว์สู่คนหรือไม่

 

4 เพื่อการเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ ตรวจหาเชื้อมาลาเรียโนวไซ(PK) โดยการเก็บตัวอย่างเลือดลิงโดย กองโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่12 จ.สงขลา(กรมควบคุมโรค)
ตัวชี้วัด : สามารถทราบผลการตรวจเลือดในลิงที่จับได้ เพื่อตรวจหาเชื้อโปรโตซัว จากเลือดของลิง เพื่อทราบว่าลิงในกลุ่มดังกล่าว มีเชื้อมาลาเรียโนวไซ(PK) หรือไม่

 

5 เพื่อแก้ปัญหาลิงที่เข้ามาสร้างความเดือดร้อนแก่ประชาชน นักท่องเที่ยว ที่มาใช้บริการบริเวณสวนสาธารณะ เทศบาลนครหาดใหญ่
ตัวชี้วัด : โดยการลดประชากรลิงด้วยวิธีการเคลื่อนย้ายลิงไปยังเกาะ...........

 

6 สร้างความเข้าใจกับชาวบ้านในชุมชน/นักท่องเที่ยวในเรื่องของการให้อาหารลิง โดยการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับพฤติกรรมลิง การอยู่ร่วมกันของคนและลิง
ตัวชี้วัด : การจัดระบบการกำจัดขยะหรือสิ่งที่เป็นอาหารให้กับลิง เพราะจะเป็นการดึงดูดให้ลิงออกมานอกพื้นที่อนุรักษ์ - ชาวบ้าน และนักท่องเที่ยว มีความเข้าใจในเรื่องลิงมากขึ้น - การปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเมื่อเจอลิง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 300
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1  เพื่อบรรเทาปัญหาและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากลิง มีการทำทะเบียนประชากรลิง รูปพรรณ และสักบนผิวหนัง และทราบจำนวนประชากรลิงในบริเวณสวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ (2) เพื่อควบคุมประชากรลิงให้เหมาะสมกับพื้นที่ ซึ่งเป็นกระบวนการควบคุมประชากรลิงป่ามิให้เพิ่มจำนวนจนถึงวาระประชากรล้น ด้วยการคุมกำเนิดลิงโดยวิธีการทำหมันถาวร ทั้งในเพศผู้และเพศเมีย ด้วยการผ่าตัด แบบไม่ส่งผลต่อการลดพฤติกรรมทางเพศ และปล่อยคืนสู่ป่า โดยมีเป้าหมายลิงทั้งเพศผู้และเมียจำนวน 150 ตัว (3) เพื่อส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน(Zoonosis) และมุ่งเน้นเป็นมาตรฐานและมาตรการในการป้องกันโรค เช่น    - มาลาเรียโนวไซ PK ตรวจ 150 ตัวอย่าง  - โรคพิษสุนัขบ้า Rabies สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้  - ไวรัสเฮอร์ปี่ Herpes virus สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้  - ตับอักเสบ Hepatitis สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้    - ฝีดาษวานร Monkey Pox สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้                            - พยาธิเม็ดเลือด Blood Parasite สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้  - เมลีออยด์  Meliodosrs สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ (4) เพื่อการเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ ตรวจหาเชื้อมาลาเรียโนวไซ(PK) โดยการเก็บตัวอย่างเลือดลิงโดย กองโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่12 จ.สงขลา(กรมควบคุมโรค) (5) เพื่อแก้ปัญหาลิงที่เข้ามาสร้างความเดือดร้อนแก่ประชาชน นักท่องเที่ยว ที่มาใช้บริการบริเวณสวนสาธารณะ เทศบาลนครหาดใหญ่ (6) สร้างความเข้าใจกับชาวบ้านในชุมชน/นักท่องเที่ยวในเรื่องของการให้อาหารลิง โดยการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับพฤติกรรมลิง การอยู่ร่วมกันของคนและลิง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมเตรียมความพร้อม (2) กิจกรรมการประชาสัมพันธ์(ค่าไวนิล) (3) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอาหารลิง) (4) กิจกรรมทำหมันลิง(เวชภัณฑ์และวัสดุยา) (5) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง) (6) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าตอบแทน) (7) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าที่พัก) (8) กิจกรรมการตรวจโรค(ค่าตรวจโรค) (9) กิจกรรมการตรวจโรค(ค่าส่งตรวจ)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7258-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( งานสัตวแพทย์ ฝ่ายบริการสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด