กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน


“ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลบางด้วน ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางนิธีวดี เก้าเอี้ยน

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลบางด้วน ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1483-01-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มิถุนายน 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลบางด้วน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลบางด้วน ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลบางด้วน ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1483-01-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มิถุนายน 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์โรคไข้เลือดออกประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 28 ตุลาคม 2566 มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 123,081 ราย อัตราป่วย 186.12 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 130 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.18 เขตสุขภาพที่ 12 มีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 12,389 ราย อัตราป่วย 247.49 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้เสียชีวิต จำนวน 18 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 0.36 ต่อแสนประชากร จังหวัดตรัง พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 906 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 141.96 ต่อแสนประชากร อำเภอปะเหลียน มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวนทั้งสิ้น 393 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 620.88 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 1 ราย และตำบลบางด้วน พบผู้ป่วยเพศชาย 11 ราย เพศหญิง    9 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 680.05 ต่อแสนประชากร เสียชีวิต 1 ราย ในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านส้มเฟือง ทั้งนี้ ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกตำบลบางด้วนเพิ่มขึ้น เนื่องจากฝนตกหนัก ทำให้มีขังน้ำตามภาชนะต่างๆ เช่น ฝาขวด แก้วพลาสติก ถุงพลาสติก เศษกระถาง ซึ่งเป็นที่ที่ยุงลายชอบวางไข่ ไข่ของยุงลาย      จะยึดติดแน่นกับของผิวภาชนะเหนือระดับน้ำเล็กน้อย สามารถอยู่ได้นานเป็นปี เมื่อมีน้ำท่วมถึงสามารถ      ฟักตัวเป็นระยะ ตัวเต็มวัยในระยะเวลา 1-2 สัปดาห์ และเมื่อมีอุณหภูมิสูงขึ้น ยุงลายตัวเต็มวัยจะออกหา  กินในช่วงกลางคืนมากขึ้น ประชาชนควรป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด และไม่ให้ยุงเกิด ด้วยวิธีนอนในมุ้ง      ติดมุ้งลวด ใส่เสื้อผ้ามิดชิด ทาโลชั่นกันยุง ใช้ยาจุดกันยุง ปฏิบัติตามหลัก 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค เก็บบ้าน        ให้ปลอดโปร่งไม่ให้ยุงลายเกาะพัก จัดเก็บเสื้อผ้าใส่ตู้ให้เป็นระเบียบ เก็บขยะ เศษภาชนะ ไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ เศษภาชนะวัสดุที่ทิ้งไว้รอบบ้าน เช่น กะลา กระป๋อง ถุงพลาสติก ควรเก็บทิ้งหรือถมดินไม่ให้น้ำขัง ยางรถยนต์เก่าสามารถดัดแปลงนำมาใช้ประโยชน์ และเก็บแหล่งน้ำ ปิดให้มิดชิด เปลี่ยนถ่ายน้ำทุกสัปดาห์ไม่ให้ยุงลายวางไข่ ภาชนะขังน้ำขนาดเล็กหมั่นเปลี่ยนน้ำทุก 7 วัน เช่น แจกันดอกไม้สด หิ้งบูชาพระ        ศาลพระภูมิ ขวดเลี้ยงพลูด่าง ไม้ประดับ ใส่ทรายธรรมดาในจานรองกระถางต้นไม้ให้ดูดซับน้ำ เป็นต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางด้วน จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก      ตำบลบางด้วน ปีงบประมาณ 2567 ขึ้น เพื่อเป็นการสื่อสารให้ประชาชนเห็นความสำคัญที่จะต้องช่วยกันทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในบริเวณที่พักอาศัยและในชุมชนของตนเอง ทุกภาคส่วนต้องมีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล แก้ไข ปรับปรุง และพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง จึงจะสามารถแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกได้อย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนร่วมกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลายในชุมชน
    2. ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
    3. ประชาชนทำกิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก ตำบลบางด้วน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 67-L1483-01-15

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนิธีวดี เก้าเอี้ยน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด