กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส


“ โครงการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน (ศสม.ยะกัง2) ”

อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวแวนุรซีฟ๊ะ บินแวยะโกะ

ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน (ศสม.ยะกัง2)

ที่อยู่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L7885-1-24 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน (ศสม.ยะกัง2) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน (ศสม.ยะกัง2)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน (ศสม.ยะกัง2) " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L7885-1-24 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,125.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองนราธิวาส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก เป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะเด็กวัยก่อนเรียนและเด็กวัยเรียน ซึ่งเป็นประชากรที่มีความสำคัญและเป็นอนาคตของชาติ ทั้งนี้เพราะเด็กในวัยนี้เป็นระยะที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งร่างกายและสติปัญญา ประกอบกับการพัฒนาในด้านต่าง ๆ มีผลต่อการกำหนดลักษณะพฤติกรรมและความสามารถในการปรับตัวต่อสังคมสิ่งแวดล้อม จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่เด็กวัยนี้จะต้องมีภาวะโภชนาการที่ดี ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ และตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 ได้กำหนดเป้าหมายให้เด็ก อายุ 0–72 เดือน มีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 85 จากผลการดำเนินงานของศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองยะกัง2ในปีงบประมาณ 2559 พบว่าเด็กน้ำหนัก น้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ 7.51 ซึ่ง เป้าหมายที่กำหนดไว้ไม่เกินร้อยละ7 ซึ่งยังมีเด็กจำนวนหนึ่งที่เป็นปัญหา สาเหตุของปัญหาดังกล่าว เนื่องจากผู้ปกครองเด็กขาดความรู้ด้านโภชนาการ มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องรวมทั้งผู้ปกครองมีลูกมาก ไม่มีเวลาดูแลลูก เพราะฉะนั้นการปรับปรุงภาวะโภชนาการเด็กจำเป็นที่ผู้ปกครองจะต้องมีส่วนร่วมในการดูแลเด็ก ทางศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองยะกัง2 จึงได้จัดทำโครงการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ในเด็กอายุ 0-72 เดือน ในเขตความรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองยะกัง2 เพื่อให้แก้ไขปัญหาดังกล่าวขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ สามารถเลี้ยงดูเด็กขาดสารอาหารให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  2. เพื่อให้เด็กขาดสารอาหารมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  3. เพื่อค้นหาเด็กขาดสารอาหารรายใหม่เพื่อติดตาม และดูแลเด็กขาดสารอาหารทั้งรายใหม่และรายเก่าอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
  4. เพื่อค้นหาสาเหตุของภาวะทุพโภชนาการในเด็กที่ขาดสารอาหาร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการจัดหาอาหารที่มีประโยชน์และเหมาะสมแก่เด็ก 2.เด็กขาดสารอาหารมีสุขภาพแข็งแรงไม่เจ็บป่วยบ่อย 3.เด็กขาดสารอาหารได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและมีน้ำหนักเพิ่ม 4.ผู้ปกครองเด็กและเจ้าหน้าที่ทราบถึงปัญหาที่ทำให้เด็กขาดสารอาหารและหาแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวร่วมกัน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. การตรวจหาไข่พยาธิในเด็กขาดสารอาหาร

    วันที่ 1 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมเก็บอุจจาระเด็กที่ขาดสารอาหาร เพื่อตรวจหาไข่พยาธิ จำนวน 30 คน ระหว่างเดือนพ.ค. ถึงก.ค. 2560 จากการดำเนินการ พบเด็กเป็นโรคพยาธิ (ชนิดพยาธิปากขอ) จำนวน 1 ราย จึงได้ดำเนินการจ่ายยา Albendazole 400 mg. จำนวน 1 ขวด ให้รับประทานติดต่อกัน 3 วัน

     

    30 45

    2. จัดกิจกรรมสาธิตอาหารแก่ผู้ปกครองเด็กในชุมชนที่มีปัญหาทุพโภชนาการปีละ 1 ครั้ง

    วันที่ 1 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาชนจาก 7 ชุมชน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการทำอาหารที่มีประโยชน์แก่เด็กขาดสารอาหาร

     

    7 7

    3. จัดซื้ออาหารเสริมแก่เด็กที่ขาดสารอาหาร

    วันที่ 1 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ค่าจัดซื้ออาหารเสริม (นม) แก่เด็กขาดสารอาหาร จำนวน 30 คน x 10 โหล x 115 บาท

     

    30 30

    4. จัดประชุมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครองเด็กขาดสารอาหาร

    วันที่ 21 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดประชุมเกี่ยวกับอาหารที่ควรได้รับแก่เด็กขาดสารอาหาร แก่ผู้ปกครอง จำนวน 30 คน และคณะทำงาน จำนวน 15 คน

     

    45 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กลุ่มเป้าหมาย เด็ก 0-72 เดือน ที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ในเขตพื้นที่ศสม.ยะกัง 2 มีจำนวน 30 ราย
    กิจกรรมเก็บอุจจาระเด็กที่ขาดสารอาหาร เพื่อตรวจหาไข่พยาธิ จำนวน 30 คน ระหว่างเดือนพ.ค. ถึงก.ค. 2560 จากการดำเนินการ พบเด็กเป็นโรคพยาธิ (ชนิดพยาธิปากขอ) จำนวน 1 ราย จึงได้ดำเนินการจ่ายยา Albendazole 400 mg. จำนวน 1 ขวด ให้รับประทานติดต่อกัน 3 วัน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ สามารถเลี้ยงดูเด็กขาดสารอาหารให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการจัดหาอาหารที่มีประโยชน์และเหมาะสมแก่เด็ก

     

    2 เพื่อให้เด็กขาดสารอาหารมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
    ตัวชี้วัด : เด็กขาดสารอาหารได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและมีน้ำหนักเพิ่ม

     

    3 เพื่อค้นหาเด็กขาดสารอาหารรายใหม่เพื่อติดตาม และดูแลเด็กขาดสารอาหารทั้งรายใหม่และรายเก่าอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
    ตัวชี้วัด : เด็กขาดสารอาหารได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องและมีน้ำหนักเพิ่ม

     

    4 เพื่อค้นหาสาเหตุของภาวะทุพโภชนาการในเด็กที่ขาดสารอาหาร
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็กและเจ้าหน้าที่ทราบถึงปัญหาที่ทำให้เด็กขาดสารอาหารและหาแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวร่วมกัน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ สามารถเลี้ยงดูเด็กขาดสารอาหารให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (2) เพื่อให้เด็กขาดสารอาหารมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (3) เพื่อค้นหาเด็กขาดสารอาหารรายใหม่เพื่อติดตาม และดูแลเด็กขาดสารอาหารทั้งรายใหม่และรายเก่าอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ (4) เพื่อค้นหาสาเหตุของภาวะทุพโภชนาการในเด็กที่ขาดสารอาหาร

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในเด็กอายุ 0-72 เดือน (ศสม.ยะกัง2) จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L7885-1-24

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวแวนุรซีฟ๊ะ บินแวยะโกะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด