กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงมัส


“ โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางรอกาหยะ สามะ

ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2504-02-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2504-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,825.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภายในชุมชนหมู่บ้านปูลาไซร้ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส กำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุจากปัจจัยการลดลงของอัตราเกิดและ อายุขัยเฉลี่ยของประชากรที่ยืนยาวขึ้นขณะเดียวกันผู้สูงอายุก็มีอายุยืนยาวขึ้นอัตราการเพิ่มของจำนวน ผู้สูงอายุในปัจจุบันสูงกว่าของประชากรโดยรวมขณะเดียวกันอัตราการเพิ่มของจำนวนผู้สูงอายุวัยปลายก็สูง กว่าอัตราการเพิ่มของกลุ่มผู้สูงอายุวัยต้นมีผลให้จำนวนและสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุของไทยเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุวัยปลายปัญหาการเพิ่มของจำนวนผู้สูงอายุคาดว่าจะทวีความรุนแรงขึ้นในอีกสิบปี ข้างหน้าแม้จะ มีอายุเกิน 60 ปีขึ้นไป ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติแต่สภาพจิตใจ ผู้สูงอายุจึง ควรให้ความสนใจดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดีป้องกันการเกิดโรคต่างๆรวมทั้งฟื้นฟู สุขภาพเมื่อมีภาวะของโรคและควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมาก กว่าเดิมจะทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าสามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคมและ มีความสุขในปั้นปลาย ของชีวิตประกอบกับรัฐบาลได้มีนโยบายในเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและ การมีงานหรือกิจกรรมที่เหมาะสมเพื่อสร้างสรรค์และไม่ก่อภาระต่อสังคมในอนาคต ผู้สูงอายุถือว่าเป็นปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่ายิ่งเนื่องจาก ผ่านประสบการณ์มามาก ได้ เคยเป็นกำลังสำคัญของสังคมมาก่อน มีความรู้ มีทักษะ อนุรักษ์ และสืบทอด ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถี ชีวิตดั้งเดิม และได้ทำคุณประโยชน์แก่สังคมมาแล้วมากมาย จำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญ ในการยกย่องให้การดูแล ผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี สุขภาพจิต สุขภาพกายเป็นการเชิดชูเกียรติให้ ผู้สูงอายุ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ทางกลุ่มรักสุขภาพ บ้านปูลาไซร้ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาสได้เล็งเห็นความสำคัญจึงดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัย อย่างมีคุณภาพ เพื่อเป็นการส่งเสริมการสร้างความรู้ให้กับผู้สูงอายุ ในการดูแลสุขภาพของตนเองและอยู่ใน สังคมอย่างมีความสุขด้านการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณภาพ มีความสุขและเป็นประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัวและชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเสริมสร้างการพัฒนาตนเองและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุ
  2. 2. เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกายและจิตใจและปรับตัวเข้ากับสังคมปัจจุบันอย่างมีภูมิคุ้มกัน
  3. 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้นได้และพึ่งผู้อื่นให้น้อยที่สุด
  4. 4. เพื่อให้ผู้สูงอายุยอมรับการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ สนใจบุคคลอื่นและสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. การมีเครือข่ายและสร้างเครือข่ายที่สามารถถ่ายทอดความรู้ได้
  2. มีกลุ่มผู้สูงอายุ ที่เข้มแข้ง และมีศักยภาพ
  3. มี องค์การบริหารส่วนตำบล หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่สนับสนุนกิจกรรม งบประมาณอย่างต่อเนื่อง การดำเนินงานแบบมีส่วนร่วม โดยทุกภาคส่วน " ร่วมคิด ร่วมทำร่วมสร้าง " และมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน การจัดการเรียนรู้ให้ผู้สูงอายุเพื่อให้ผู้สูงอายุมีความสุข เกิดทักษะในการดูแลตนเอง มีคุณภาพชีวิตที่ดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเสริมสร้างการพัฒนาตนเองและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายได้เข้าร่วมกิจกรรมตามหลักสูตร
0.00

 

2 2. เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกายและจิตใจและปรับตัวเข้ากับสังคมปัจจุบันอย่างมีภูมิคุ้มกัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย มีความพึงพอใจในกระบวนการเรียนรู้อยู่ในระดับดีขึ้นไป
0.00

 

3 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้นได้และพึ่งผู้อื่นให้น้อยที่สุด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
0.00

 

4 4. เพื่อให้ผู้สูงอายุยอมรับการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ สนใจบุคคลอื่นและสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในระดับดีขึ้นไปต่อการศึกษาเพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้าน โภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเสริมสร้างการพัฒนาตนเองและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สูงอายุ (2) 2. เพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกายและจิตใจและปรับตัวเข้ากับสังคมปัจจุบันอย่างมีภูมิคุ้มกัน (3) 3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้นได้และพึ่งผู้อื่นให้น้อยที่สุด (4) 4. เพื่อให้ผู้สูงอายุยอมรับการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย  จิตใจ  สนใจบุคคลอื่นและสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงอายุสุขใจ สูงวัยอย่างมีคุณภาพ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2504-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรอกาหยะ สามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด