กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ ในพื้นที่ทุรกันดาร ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายปรีชา ปันดีกา

ชื่อโครงการ โครงการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ ในพื้นที่ทุรกันดาร ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5312-1-01 เลขที่ข้อตกลง 2/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ ในพื้นที่ทุรกันดาร ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ ในพื้นที่ทุรกันดาร ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ ในพื้นที่ทุรกันดาร ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5312-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล ตามพระราชบัญญัติ กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2556มาตรา 16 (19)กำหนดให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการ จัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่น ด้านการสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาลโดยมีเจตนารมณ์ให้ อปท.ดำเนินการส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาระบบสุขภาพที่เน้นการสร้างเสริมอันนำไปสู่สุขภาวะที่ยั่งยืนของประชาชน รวมทั้งจัดให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 ได้ให้ความหมาย “การจัดบริการสาธารณสุข” หมายถึง การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก และแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เรื่องการจัดบริการสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ลงวันที่ 25 มีนาคม 2557 (ข้อ7) กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง บ้านเกาะบุโหลนตั้งอยู่ในฝั่งทะเลอันดามันในเขตรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำอยู่ห่างท่าเรือปากบาราประมาณ 22 กิโลเมตรใช้เวลาเดินทางโดยเรือหางยาวประมาณ 1.5 ชั่วโมงวิถีชีวิตของชาวบ้านซึ่งส่วนมากเป็นชาวบ้านที่มีพื้นเพมาจากชาวเล มีภาษาประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อเป็นของตนเอง ด้านข้อมูลสถานะสุขภาพพบว่าประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่สามารถเข้าถึงการบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงเมื่อเจ็บป่วยหรือมีปัญหาสุขภาพชาวจะเหมาเรือขึ้นมาบนฝั่ง ซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูง ทำให้ชาวบ้านบางส่วนรักษาเองตามความเชื่อ ที่สืบทอดปฏิบัติกันมา และช่วงมรสุมจะมีคลื่นลมแรงไม่สามารถขึ้นฝั่งมารักษาได้ ส่งผลกระทบต่อระบบสุขภาพโดยรวมทั้งในระดับบุคคล และชุมชนข้อมูลการออกให้บริการเมื่อปี พ.ศ.2566 ที่ผ่าน มีการจำเเนกโรค มีผู้เข้ารับบริการ 76 ราย มาเข้ารับบริการตรวจรักษาได้พบโรค 3 อับดับอันดับที่1 คือ โรคไข้หวัดร้อยละ 35.53 อับดับที่2 โรคกล้ามเนื้อและกระดูก ร้อยละ 17.11 และอันดับที่3 ทันตกรรม ร้อยละ18.42
เมื่อสอบถามความพึ่งพอใจต่อความต้องการให้มีการดำเนินโครงการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ทุรกันดารบ้านเกาะบุโหลน ปีงบประมาณ 2566 พบว่า ผู้เข้าใช้บริการมีความพึ่งพอใจต่อการจัดโครงการในภาพรวมอยู่ระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 92.73 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.64
ดังนั้นกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ ได้เล็งเห็นความจำเป็นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องจัดบริการสาธารณะ โดยจัดกิจกรรมบริการสาธารณสุขด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพและรักษาพยาบาลเชิงรุก โดยจัดทีมสหวิชาชีพลงไปให้บริการในชุมชน ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขแก่ประชาชนบ้านเกาะบุโหลน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้บริการตรวจรักษาโรคทั่วไป บริการทันตกรรม ติดตามผู้ป่วยติดเตียง บริการกายภาพบำบัดผู้พิการ โดย ทีมสหวิชาชีพประกอบด้วย แพทย์ทันตแพทย์ พยาบาล ผู้ช่วยทันตแพทย์ เภสัชกร จากโรงพยาบาล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชาชนบ้านเกาะบุโหลน (คน) 599

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.องค์การบริหารส่วนตำบลปากน้ำ ให้การดูแลและจัดบริการสาธารณะแก่ประชาชนในพื้นที่ห่างไกล และเสริมเติมเต็มในระบบสุขภาพในการให้บริการปฐมภูมิเชิงรุกแก่ประชาชนในพื้นที่อย่างทั่วถึงมากขึ้น 2. สามารถช่วยลดและประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทางมารับบริการที่สถานบริการสาธารณสุข 3. ประชาชนได้รับการจัดบริการสาธารณสุข การจัดบริการเสริมสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขแก่ประชาชนบ้านเกาะบุโหลน
ตัวชี้วัด : ประชาชนบ้านเกาะบุโหลนดอนและบุโหลนเล
599.00 599.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 599
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชาชนบ้านเกาะบุโหลน (คน) 599

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขแก่ประชาชนบ้านเกาะบุโหลน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้บริการตรวจรักษาโรคทั่วไป บริการทันตกรรม ติดตามผู้ป่วยติดเตียง บริการกายภาพบำบัดผู้พิการ โดย ทีมสหวิชาชีพประกอบด้วย แพทย์ทันตแพทย์ พยาบาล ผู้ช่วยทันตแพทย์ เภสัชกร จากโรงพยาบาล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ ในพื้นที่ทุรกันดาร ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5312-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปรีชา ปันดีกา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด