กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน


“ โครงการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านโดยจิตอาสาหมอตัวน้อย ”

ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายไพบูลย์ หนูอินทร์

ชื่อโครงการ โครงการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านโดยจิตอาสาหมอตัวน้อย

ที่อยู่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1483-03-27 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านโดยจิตอาสาหมอตัวน้อย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านโดยจิตอาสาหมอตัวน้อย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านโดยจิตอาสาหมอตัวน้อย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1483-03-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2562 ตามที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) เสนอ โดยในปี 2562 ประเทศไทยมีประชากรผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 11.6 ล้านคน หรือร้อยละ 17.5 ของประชากรทั้งประเทศ และตั้งแต่ปี 2566 เป็นต้นไป จะมีคนไทยอายุถึง 60 ปี ปีละล้านคน และในปี 2576 จะมีประชากรผู้สูงอายุร้อยละ 28 ของประชากรทั้งประเทศ ขณะที่การเกิดในปี 2562 มีจำนวนลดต่ำลงเหลือเพียง 6.1 แสนคน ซึ่งที่ผ่านมารัฐบาลให้ความสำคัญกับการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุ (Social Welfare for Elderly) มาตลอด โดยดำเนินการจัดสวัสดิการด้านต่างๆ เช่น
1. ด้านการศึกษา เช่น จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ จำนวน 1,555 แห่ง โดยกำหนดเนื้อหาที่เหมาะสมสำหรับการเรียนรู้ในมิติสุขภาพ มิติสังคม มิติเศรษฐกิจ และมิติสภาพแวดล้อม 2. ด้านสุขภาพอนามัย เช่น สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ กองทุนหลักประกันสุขภาพหรือบัตรทอง ซึ่งมีผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแล จำนวน 219,518 คน 3. ด้านที่อยู่อาศัย ดำเนินการปรับปรุงซ่อมบ้านให้แก่ผู้สูงอายุ จำนวน 3,200 หลัง และปรับปรุงสถานที่สาธารณะให้เอื้อต่อผู้สูงอายุและคนทุกวัย จำนวน 20 แห่ง 4.ด้านการทำงานและการมีรายได้ ชมรมผู้สูงอายุตำบลบางด้วน ได้เห็นความสำคัญของสุขภาพของกลุ่มผู้สูงอายุ โดยผู้สูงอายุในตำบลบางด้วน มีจำนวน 771 คน เป็นผู้สูงอายุที่อยู่ในกลุ่มพึ่งพิง จำนวน 87 คน จึงได้จัดโครงการดูแลผู้สูงอายุ      ที่บ้านโดยจิตอาสาหมอจิ๋ว เป็นการแก้ปัญหาสุขภาพแนวใหม่โดยการปรับนโยบายและแผนการดําเนินงานด้านสุขภาพเป็นการบริการเชิงรุกที่มุ่งส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุตามสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน โดยใช้เยาวชนอายุ 10-14 ปีเป็นแกนนําครอบครัว เพื่อดูแลสุขภาพของคนในครอบครัวและชุมชน โดย        มีอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน (อสม.) และผู้ดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงเป็นพี่เลี้ยงเพื่อสร้างทัศนคติและทักษะในการดูแลสุขภาพมุ่งให้ความรู้ทางด้านการดูแลสุขภาพตนเองและผู้อื่น และเพื่อสร้างให้เยาวชน      มีจิตสํานึกในการเสียสละแก่ส่วนรวม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เพื่อให้มีความรู้ทางด้านการดูแลสุขภาพที่สามารถนำไปดูแลคนในครอบครัวและชุมชนได้
    2. เพื่อให้ผู้ป่วยในชุมชนมีกำลังใจมากขึ้น เมื่อมีลูกหลานดูแลอย่างใกล้ชิด
    3. เพื่อสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว ระหว่าง เด็ก ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านโดยจิตอาสาหมอตัวน้อย จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 67-L1483-03-27

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายไพบูลย์ หนูอินทร์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด