กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยามู


“ โครงการฝึกอบรม เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี2567 ”

ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายชัยรัตน์ พรหมดวง

ชื่อโครงการ โครงการฝึกอบรม เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี2567

ที่อยู่ ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 004/2567 เลขที่ข้อตกลง 004/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2566 ถึง 31 มกราคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฝึกอบรม เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยามู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฝึกอบรม เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฝึกอบรม เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 004/2567 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2566 - 31 มกราคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,280.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยามู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนควบคุมการเกิดของลูกน้ำและยุงลายจากภาชนะที่กักเก็บน้ำไว้ใช้
  3. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
  4. เพื่อฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุงลายกรณีเผชิญเหตุ
  5. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรม การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือด การเลือกใช้สารเคมี การดูแลรักษาและการใช้เครื่องพ่นเคมีที่ถูกต้อง
  2. เดินรณรงค์ให้ความรู้ และกระตุ้นจิตสำนึกและส่งเสริมพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำ-ยุงลาย เพื่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
  3. กิจกรรมพ่นสารเคมีกำจัดลูกน้ำยุงลาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร? 1. ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตลอดจนเกิดจิตสำนึกและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการส่งเสริมการป้องกันโรคไข้เลือดออก 2. พื้นที่ในตำบลยามูได้รับการฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุงทั่วทุกพื้นที่ ตลอดช่วงหน้าการระบาดของโรค และประชาชนได้รับทรายอะเบททุกครอบครัว 3. ลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก 4. อสม. ผู้น้ำชุมชน และประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ มีความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ถูกวิธี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรม การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือด การเลือกใช้สารเคมี การดูแลรักษาและการใช้เครื่องพ่นเคมีที่ถูกต้อง

วันที่ 19 มกราคม 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายระเอียดกิจกรรม จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ เรื่อง ไข้เลือดออก และอันตรายจากโรคไข้เลือดออก การป้องกัน การควบคุมโรคไข้เลือด ตลอดจนการเลือกใช้สารเคมีในการกำจัด ป้องกัน และทำลายลูกน้ำ ยุงลาย และการดูแลรักษาและการใช้เครื่องพ่นสารเคมีกำจัดลูกน้ำยุงลายที่ถูกต้อง โดยมีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 60 คน รายละเอียดงบประมาณ - ค่าจัดทำป้ายไวนิลโครงการ ขนาด กว้าง × ยาว = 1 × 2 เมตร ราคาตารางเมตรละ 250 บาทจำนวน 1 ป้ายเป็นเงิน 500.- บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 3 ชั่วโมงเป็นเงิน 1,800.- บาท - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม ราคาชุดละ 25 บาท จำนวน 60 ชุด 2 มื้อ เป็นเงิน 3,000.- บาท - ค่าอาหารกลางวันพร้อมเครื่องดื่ม ราคาชุดละ 60 บาท จำนวน 60 ชุด 1 มื้อ เป็นเงิน 3,600.- บาท รวมเงินเป็น8,900.-บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อสม. ผู้น้ำชุมชน และประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ มีความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ถูกวิธี
  2. ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตลอดจนเกิดจิตสำนึกและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการส่งเสริมการป้องกันโรคไข้เลือดออก

 

0 0

2. เดินรณรงค์ให้ความรู้ และกระตุ้นจิตสำนึกและส่งเสริมพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำ-ยุงลาย เพื่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

วันที่ 19 มกราคม 2567 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและการป้องกันตนเอง และกระตุ้นจิตสำนึกและส่งเสริมพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำ-ยุงลาย เพื่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือด
  2. เชิญชวนประชาชนร่วมกันสำรวจและกำจัดภาชนะที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
    1. แจกแผ่นพับความรู้ และแจกทรายอะเบทให้กับประชาชนเพื่อให้ช่วยกันทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำ ยุงลาย รายละเอียดค่าใช้จ่าย

- ค่าจัดซื้อทรายอะเบท จำนวน 2 ถัง ราคาถังละ 4,500 บาท เป็นเงิน 9,000.-บาท - ค่าจัดจ้างทำไปไวนิลรณรงค์ไข้เลือดออก ขนาด 1.252 เมตร ราคาตารางเมตรละ 250 บาท จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 625.- บาท - ค่าจัดจ้างพิมพ์แผ่นผับความรู้ การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ราคาแผ่นละ 15 บาท จำนวน 200 แผ่นเป็นเงิน 3,000.-บาท - ค่าจัดจ้างทำแผ่นโฟมบอร์ดขนาด 3040 เซนติเมตร ราคาแผ่นละ 215 บาท จำนวน 5 แผ่น เป็นเงิน 1,075.- บาท - ถุงดำ ขนาด 6 แพ็ค ราคาแพ็คละ 65 บาท เป็นเงิน 390.- บาท
รวมเงินเป็น 14,090. บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

 

0 0

3. กิจกรรมพ่นสารเคมีกำจัดลูกน้ำยุงลาย

วันที่ 19 มกราคม 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม 1. จัดมอบยากันยุงชนิดฉีดสเปร์ย และโลชันทากันยุง ให้กับผู้อยู่อาศัยในบ้านที่พบผู้ติดเชื้อโรคไข้เลือดออก เพื่อเป็นการระงับเหตุในเบื้องต้น 2. กรณีตรวจพบหรือได้รับแจ้งจากโรงพยาบาลว่ามีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ จะดำเนินการฉีดพ่นสารเคมีกำจัดลูกน้ำยุงลาย ณ บ้านผู้ป่วยและบริเวณโดยรอบรัศมี 100-200 เมตร ภายใน 1 วัน หลังจากรับแจ้ง และครั้งที่ 2 ภายใน 3 วัน และครั้งที่ 3 ภายใน 7 วัน 3. ฉีดพ่นสารเคมีกำจัดลูกน้ำ ยุงลาย ในพื้นที่สาธารณะ เช่น มัสยิด โรงเรียน ศูนย์เด็กเล็ก ทัังของรัฐและเอกชน ในพื้นที่เพื่อป้องกันโรค รายละเอียดค่าใช้จ่าย - ค่าจ้างเหมาพ่นสารเคมีควบคุมกำจัดยุงลายจำนวน 10 ครั้ง ครั้งละ 1,000 บาท (ครอบคลุมขั้นตอน ตั้งแต่วันที่ 1, 3 และวันที่ 7) เป็นเงิน 10,000.-บาท - ค่าจัดซื้อสเปรย์ฆ่ายุงและแมลง ขนาด 600 มล.จำนวน 10 กระป๋อง ราคากระป่องละ 135 บาท เป็นเงิน 1,350.-บาท
- ค่าจัดซื้อโลชั่นทากันยุง ขนาด 60 มล. จำนวน 1 ลัง เป็นเงิน 650.-บาท - ค่าจัดซื้อน้ำมันจำนวน 5 ลิตร ลิตรละ 38 บาท เป็นเงิน 190.- บาท - ค่าน้ำมันเครื่อง 2T จำนวน 1 ขวด เป็นเงิน 100.-บาท รวมเงินเป็น 12,290.บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พื้นที่ในตำบลยามูได้รับการฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุงทั่วทุกพื้นที่ ตลอดช่วงหน้าการระบาดของโรค และประชาชนได้รับทรายอะเบททุกครอบครัว

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนควบคุมการเกิดของลูกน้ำและยุงลายจากภาชนะที่กักเก็บน้ำไว้ใช้
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :

 

4 เพื่อฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุงลายกรณีเผชิญเหตุ
ตัวชี้วัด :

 

5 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
ตัวชี้วัด : การแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้เลือดออกระบาด(ร้อยละ)
2.00 0.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนควบคุมการเกิดของลูกน้ำและยุงลายจากภาชนะที่กักเก็บน้ำไว้ใช้ (3) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (4) เพื่อฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุงลายกรณีเผชิญเหตุ (5) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรม การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือด การเลือกใช้สารเคมี การดูแลรักษาและการใช้เครื่องพ่นเคมีที่ถูกต้อง (2) เดินรณรงค์ให้ความรู้ และกระตุ้นจิตสำนึกและส่งเสริมพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำ-ยุงลาย เพื่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) กิจกรรมพ่นสารเคมีกำจัดลูกน้ำยุงลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฝึกอบรม เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปี2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 004/2567

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชัยรัตน์ พรหมดวง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด