กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี


“ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กน่าอยู่ หนูน้อยปลอดภัย ”

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควน ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางพรเพ็ญ ขุนทวี

ชื่อโครงการ โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กน่าอยู่ หนูน้อยปลอดภัย

ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควน ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2543-3-17 เลขที่ข้อตกลง 17/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มิถุนายน 2567 ถึง 25 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กน่าอยู่ หนูน้อยปลอดภัย จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควน ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กน่าอยู่ หนูน้อยปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กน่าอยู่ หนูน้อยปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควน ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2543-3-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มิถุนายน 2567 - 25 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อุบัติเหตุเป็นสาเหตุของการบาดเจ็บและเสียชีวิตที่พบบ่อยในเด็กทั่วโลก การเกิดอุบัติเหตุในเด็กเป็นปัญหาสำคัญที่ทำให้เกิดความสูญเสีย ทั้งร่างกายและทรัพย์สินโดยเฉพาะการเกิดทุพพลภาพและเสียชีวิตของเด็ก ซึ่งถือว่าเป็นทรัพยากรที่สำคัญ เมื่อเกิดอุบัติเหตุและการบาดเจ็บในเด็ก นอกจากทำให้เกิดการสูญเสียค่าใช้จ่ายที่นับเป็นมูลค่ามหาศาลในแต่ละปีของประเทศชาติแล้ว ยังเป็นสาเหตุให้เกิดการตายของเด็กในปัจจุบัน ดังนั้นการเรียนรู้สาเหตุ และแนวทางป้องกันเพื่อให้คำแนะนำล่วงหน้าแก่บุคคลที่เกี่ยวข้อง เช่น พ่อแม่ ครู ผู้ดูแลเด็ก และบุคลากรทางสุขภาพ รวมถึงการรณรงค์ให้สังคมตระหนักถึงความสำคัญ และร่วมมือกันเพื่อไม่ให้เด็กต้องประสบปัญหาทางด้านร่างกาย จิตใจ หรือการสูญเสียใด ๆ อันเป็นผลมาจากการได้รับอันตรายจากการเกิดอุบัติเหตุในเด็ก (ณัชนันท์ ชีวานนท์, 2559) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานศึกษาที่รองรับเด็กก่อนวัยเรียน การมีมาตรการความปลอดภัยในสถานศึกษาเป็นกระบวนการพัฒนาความปลอดภัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อป้องกันการบาดเจ็บ (Injury Prevention) จากภัยต่าง ๆ ทั้งอุบัติเหตุ อุบัติภัย และภัยทางสังคม และสร้างเสริมความปลอดภัย (Safety Promotion) ในระดับบุคคลและกลุ่ม ที่อยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและชุมชน ด้วยเหตุผลดังกล่าวทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควน ได้เล็งเห็นถึงปัญหาการสูญเสียจากอุบัติเหตุและการบาดเจ็บในเด็กปฐมวัย เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นจึงได้จัดกิจกรรมต่าง ๆ ขึ้น เพื่อเป็นการปลูกจิตสำนึกและสร้างวินัยให้แก่เด็กปฐมวัยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรการความปลอดภัยบนท้องถนน อุบัติเหตุจากอัคคีภัย และการติดในรถยนต์ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  2. เพื่อให้มีรูปแบบแนวทางการรักษาความปลอดภัยด้านอุบัติเหตุและด้านปัญหาทางสังคม โดยอาศัยแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ภายใต้หลักการกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วมและยึดประโยชน์สูงสุดของนักเรียนเป็นสำคัญ
  3. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองทุกคนได้รับการปกป้อง และคุ้มครองความปลอดภัย ทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ โดยนักเรียนจะได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง ความปลอดภัยบนท้องถนน
  2. กิจกรรมสาธิต ความปลอดภัยบนท้องถนน
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง อุบัติเหตุจากอัคคีภัย และการติดในรถยนต์
  4. สาธิตวิธีการป้องกันอุบัติเหตุจากอัคคีภัย และการติดในรถยนต์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียน ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรการความปลอดภัยบนท้องถนน อุบัติเหตุจากอัคคีภัย และการติดในรถยนต์ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและสามารถดูแลตนเองได้เบื้องต้น
  2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีรูปแบบแนวทางการรักษาความปลอดภัยด้านอุบัติเหตุและด้านปัญหาทางสังคม
  3. นักเรียนทุกคนได้รับการปกป้อง และคุ้มครองความปลอดภัย ทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ โดยนักเรียนจะได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรการความปลอดภัยบนท้องถนน อุบัติเหตุจากอัคคีภัย และการติดในรถยนต์ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 นักเรียน ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรการความปลอดภัยบนท้องถนน อุบัติเหตุจากอัคคีภัย และการติดในรถยนต์
10.00 5.00

 

2 เพื่อให้มีรูปแบบแนวทางการรักษาความปลอดภัยด้านอุบัติเหตุและด้านปัญหาทางสังคม โดยอาศัยแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ภายใต้หลักการกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วมและยึดประโยชน์สูงสุดของนักเรียนเป็นสำคัญ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 มีรูปแบบแนวทางการรักษาความปลอดภัยด้านอุบัติเหตุและด้านปัญหาทางสังคมโดยอาศัยแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ภายใต้หลักการกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วมและยึดประโยชน์สูงสุดของนักเรียนเป็นสำคัญ
10.00 5.00

 

3 เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองทุกคนได้รับการปกป้อง และคุ้มครองความปลอดภัย ทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ โดยนักเรียนจะได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 มีรูปแบบแนวทางการรักษาความปลอดภัยด้านอุบัติเหตุและด้านปัญหาทางสังคมโดยอาศัยแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ภายใต้หลักการกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วมและยึดประโยชน์สูงสุดของนักเรียนเป็นสำคัญ
10.00 5.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรการความปลอดภัยบนท้องถนน อุบัติเหตุจากอัคคีภัย และการติดในรถยนต์ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (2) เพื่อให้มีรูปแบบแนวทางการรักษาความปลอดภัยด้านอุบัติเหตุและด้านปัญหาทางสังคม โดยอาศัยแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ภายใต้หลักการกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วมและยึดประโยชน์สูงสุดของนักเรียนเป็นสำคัญ (3) เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองทุกคนได้รับการปกป้อง และคุ้มครองความปลอดภัย ทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ โดยนักเรียนจะได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด และสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง ความปลอดภัยบนท้องถนน (2) กิจกรรมสาธิต ความปลอดภัยบนท้องถนน (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง อุบัติเหตุจากอัคคีภัย และการติดในรถยนต์ (4) สาธิตวิธีการป้องกันอุบัติเหตุจากอัคคีภัย และการติดในรถยนต์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กน่าอยู่ หนูน้อยปลอดภัย จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2543-3-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพรเพ็ญ ขุนทวี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด