กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคมะเร็ง รพ.สต.บ้านสะพานข่อยประจำปี 2567
รหัสโครงการ 67-L3320-01-09
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ (นางสาวจีรันดา เสนพริก พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะพานข่อย
วันที่อนุมัติ 12 มกราคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 3,800.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะพานข่อย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 75 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
80.00
2 ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงและส่งต่อได้รวดเร็ว

โรคมะเร็งเป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญของประเทศไทยโดยมะเร็งปากมดลูกมะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้เป็นโรคมะเร็งที่พบได้บ่อยที่สุดและมีอัตราการเสียชีวิตมากที่สุดโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาตำเสาปีงบประมาณ 2566พบว่าโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายลำดับ 2 รองจากโรคชรา แต่ละปีพบว่ามีผู้เสียชีวิตจากโรคมะเร็งปากมดลูกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ส่วนใหญ่มีอายุเฉลีย 30 - 50 ปี ซึ่งมีการใช้วิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA TEST แม้จะเป็นวิธีการตรวจที่ง่ายสะดวกแต่พบว่ากลุ่มเป้าหมายจำนวนมากยังมีทัศนคติและความเขินอายในการตรวจสำหรับมะเร็งเต้านมกลุ่มเป้าหมายสามารถตรวจคัดกรองได้เองทุกเดือนหรือสามารถเข้ารับการตรวจโดยบุคลากรทางการแพทย์สถานบริการสาธารณสุขใกล้บ้านนอกจากจะสะดวกรวดเร็วและประหยัดค่าใช้จ่ายแล้วความจำเป็นในการตรวจคัดกรองเพื่อเป็นการหาเซลล์มะเร็งให้พบในระยะเริ่มแรกเพื่อรักษาให้หายขาดได้ส่วนมะเร็งลำไส้เป็นมะเร็งที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปีเช่นกันเกิดจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารปิ้งย่าง สุกๆดิบๆ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะพานข่อยตำบลนาขยาด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาระบบบริการงานโรคมะเร็งจึงจัดทำโครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาโรคมะเร็ง รพ.สต.บ้านสะพานข่อย ประจำปีงบประมาณ 2567ขึ้นโดยการให้ความรู้สร้างความตระหนักและกระตุ้นให้เกิดกระแสการตรวจคัดกรองมะเร็งเพิ่มมากขึ้นเพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ให้รับการรักษาที่รวดเร็วเหมาะสมรวมไปถึงการติดตามผู้ป่วยรายใหม่ในระยะเริ่มต้นสู่กระบวนการรักษาที่ต่อเนื่องช่วยลดอัตราตายต่อไป

90.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ30-60ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV DNA TEST

ร้อยละ60ของสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ30-60ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV DNA TEST

60.00 80.00
2 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ30-70ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม

ร้อยละ90ของสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ30-70ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม

80.00 90.00
3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงและส่งต่อได้รวดเร็ว

ร้อยละ100ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรงและส่งต่อได้รวดเร็ว

90.00 100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 3,800.00 0 0.00
1 - 10 มี.ค. 67 ประชุมภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง 0 0.00 -
15 - 31 มี.ค. 67 อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็ง 0 3,800.00 -
1 เม.ย. 67 - 30 มิ.ย. 67 ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในกลุ่มเป้าหมาย 0 0.00 -
1 ก.ค. 67 - 31 ส.ค. 67 ตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้กลุ่มเป้าหมาย (Fit Test) 0 0.00 -
1 ก.ค. 67 - 31 ส.ค. 67 พัฒนาแนวทางการดูแลส่งต่อและติดตามเยี่ยมผู้ป่วยโรคมะเร็ง 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายรับรู้ปัจจัยและพฤติกรรมเสี่ยงโรคมะเร็งมีความรู้ในการป้องกันการเกิดโรคเพื่อลดอัตราป่วยมะเร็งรายใม่และอัตราการตายด้วยโรคมะเร็ง 2.กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมากขึ้นและเข้าสู่กระบวนการรักษาอย่างรวดเร็วในรายที่ผิดปกติ 3.อัตราการป่วยและอัตราการตายจากโรคมะเร็งลดลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ธ.ค. 2566 16:08 น.