กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ


“ โครงการลดน้ำหนักซักนิด พิชิตความอ้วน ตามวิถีชุมชน ”

ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายโมฮำมัดกัมซารี วาเลาะและ นาย มะรีดา สาแลแม

ชื่อโครงการ โครงการลดน้ำหนักซักนิด พิชิตความอ้วน ตามวิถีชุมชน

ที่อยู่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L2983-02-012 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 กรกฎาคม 2567 ถึง 11 กรกฎาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดน้ำหนักซักนิด พิชิตความอ้วน ตามวิถีชุมชน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดน้ำหนักซักนิด พิชิตความอ้วน ตามวิถีชุมชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดน้ำหนักซักนิด พิชิตความอ้วน ตามวิถีชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L2983-02-012 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 กรกฎาคม 2567 - 11 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,820.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เมตาบอลิค ซินโดรม (Metabolic syndrome) หรืออาจเรียกให้เข้าใจง่ายๆคือ “โรคอ้วนลงพุง “มีสาเหตุเริ่มต้นจาการใช้ชีวิตที่ไม่เหมาะสม กินอาหารมากเกินไป โดยเฉพาะอาหารที่มีน้ำตาล และไขมันสูง ร่วมกับการไม่ออกกำลังกาย ทำให้น้ำหนักมากเกินไป พุงยื่น สำหรับคนไทย ผู้ชายไม่ควรมีรอบเอวเกิน 90 เซนติเมตร ผู้หญิง ไม่ควรมีรอบเอวเกิน 80 เซนติเมตร ผู้ที่มีปัญหาอ้วนลงพุง มักจะมีความผิดปกติอื่นๆร่วมด้วย ได้แก่ ความดันโลหิตสูง ตั้งแต่ 130/80 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรขึ้นไป (ความดันโลหิตตัวใดตัวหนึ่งสูงก็ถือว่าผิดปกติ ) น้ำตาลในเลือดสูง ตั้งแต่ 100 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรขึ้นไป ไขมันไตรกรีเซอไรด์สูง ตั้งแต่ 150 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรขึ้นไป โคเลสเตอรอลชนิดดี (HDL cholesterol ) ต่ำกว่า 40 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรสำหรับผู้ชาย และต่ำกว่า 50 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรขึ้นไป สำหรับผู้หญิง การมีความผิดปกติต่างๆ เหล่านี้ ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด เช่น โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด อัมพาตที่เกิดจากหลอดเลือดสมองอุดตัน ทำให้สมองขาดเลือด นอกจากนี้ยังเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน และยังก่อให้เกิดโรคตับเรื้อรังจากการที่มีไขมันสะสมอยู่ในเนื้อตับ ซึ่งนำโรคไปสู่โรคตับแข็งได้ ผู้ป่วยเมตาบอลิค ซินโดรม อาจจะไม่มีอาการผิดปกติอะไร ยกเว้น “อ้วนลงพุง”ดังนั้น หากไม่ได้รับการตรวจสุขภาพก็จะไม่ทราบว่ามีความดันโลหิตสูง น้ำตาลสูง หรือมีไขมันผิดปกติ บางรายมีความดันโลหิตสูง อาจจะมีอาการปวดศีรษะหรือเวียนศีรษะ ส่วนรายที่มีน้ำตาลในเลือดสูงเข้าขั้นเบาหวาน อาจจะมีปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำ หรือมีอาการอื่นๆของโรคเบาหวาน
  ดังนั้น กลุ่มออกกำลังกาย หมู่ ๘ บ้านโผงโผงใน ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาโรคอ้วนในอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและประชาชนในหมู่บ้าน ซึ่งหากไม่ได้รับการแก้ไขแล้ว จะเกิดปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนตามมาอีก โดยเฉพาะโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ภาวะไขมันเลือดสูง โรคมะเร็ง และโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิตและความสูญเสียทางเศรษฐกิจ เนื่องจากค่าใช้จ่ายทางสุขภาพที่เพิ่มขึ้นอีกด้วย แต่หากสามารถแก้ปัญหาโรคอ้วนได้ ก็จะทำให้อัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรังอื่นๆ ในหมู่บ้านซึ่งมีอยู่มาก ลดลงด้วย จึงได้จัดทำโครงการ ลดน้ำหนัก พิชิตความอ้วน ตามวิถีชุมชน ปีงบประมาณ๒๕๖๗ ขึ้น เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่1 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชนที่มีภาวะอ้วนมีความรู้ในการป้องกันโรคอ้วน การรับรู้โอกาสเสี่ยง และความรุนแรงของโรคอ้วน
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชนที่มีภาวะอ้วนมีพฤติกรรมการป้องกันโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    -เพื่อส่งเสริมให้ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชนออกกำลังกาย มีร่างกายสมบูรณ์แข็งแรงมากยิ่งขึ้น -เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วย และการเกิดโรคของผู้ป่วยจากโรคอ้วนรายใหม่ในชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่1 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชนที่มีภาวะอ้วนมีความรู้ในการป้องกันโรคอ้วน การรับรู้โอกาสเสี่ยง และความรุนแรงของโรคอ้วน
    ตัวชี้วัด : -อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชนที่มีภาวะอ้วนมีความรู้ในการป้องกันโรคอ้วน การรับรู้โอกาสเสี่ยง และความรุนแรงของโรคอ้วน อยู่ในระดับสูง อย่างน้อยร้อยละ ๘๐

     

    2 ข้อที่ 2 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชนที่มีภาวะอ้วนมีพฤติกรรมการป้องกันโรค
    ตัวชี้วัด : -อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชนที่มีภาวะอ้วนมีพฤติกรรมการป้องกันโรคอยู่ในระดับดี อย่างน้อยร้อยละ ๘๐

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่1 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชนที่มีภาวะอ้วนมีความรู้ในการป้องกันโรคอ้วน การรับรู้โอกาสเสี่ยง และความรุนแรงของโรคอ้วน (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และประชาชนที่มีภาวะอ้วนมีพฤติกรรมการป้องกันโรค

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการลดน้ำหนักซักนิด พิชิตความอ้วน ตามวิถีชุมชน จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 67-L2983-02-012

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายโมฮำมัดกัมซารี วาเลาะและ นาย มะรีดา สาแลแม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด