กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ


“ โครงการมัสยิดปลอดบุหรี่ ”

ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมะดารี กะจิบือซา

ชื่อโครงการ โครงการมัสยิดปลอดบุหรี่

ที่อยู่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L2983-02-014 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 สิงหาคม 2567 ถึง 9 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมัสยิดปลอดบุหรี่ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมัสยิดปลอดบุหรี่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมัสยิดปลอดบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L2983-02-014 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 สิงหาคม 2567 - 9 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,520.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุสำคัญ ทำให้เกิดโรคที่คุกคามและเป็นอันตรายสุขภาพ องค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่าบุหรี่คร่าชีวิตประชากรโลกมากถึง 8 ล้านคนต่อปี ในจำนวนนี้ 1.2 ล้านคนคือผู้ที่สัมผัสกับ SHS ซึ่งคร่าชีวิตเด็กมากถึง 65,000รายต่อปี เด็กมีความเสี่ยงสูงกว่า 50-100% ที่จะพัฒนาโรคที่เกี่ยวข้องกับทางเดินหายใจแบบเฉียบพลัน เช่นเดียวกับโรคหอบหืดและการเสียชีวิตแบบฉับพลัน ในขณะที่ผู้ใหญ่ที่ได้รับ SHS ระยะยาวเกิดมะเร็งปอด โรคหลอดเลือดหัวใจและสมองตีบ โดยผลสำรวจของสำนักงานสถิติิแห่งชาติิ พ.ศ. 2564 พบว่า จำนวนประชากรอายุุ 15 ปีขึ้นไป ทั้งสิ้น 57 ล้านคน เป็นผู้้ที่่สูบบุุหรี่่ 9.9 ล้านคน ร้อยละ 17.4 แยกเป็นผู้้ที่สูบ ทุกวัน 8.7 ล้านคน ร้อยละ 15.3 และเป็นผู้้ที่่สูบ แต่่ไม่ทุกวัน 1.2 ล้านคน ร้อยละ 2.1 เมื่อพิจารณาตาม กลุ่มอายุุ พบว่ากลุ่มอายุุ 25 - 44 ปีีมีอัตราการสูบบุุหรี่่ สูงสุด ร้อยละ 21.0 รองลงมาคือ กลุ่มอายุุ 45 - 59 ปีี และ กลุ่มอายุุ 20 - 24 ปีี ร้อยละ 19.7 และ 18.5 ตามลำดับกลุ่มผู้สูงวัย อายุุ 60 ขึ้นไป ร้อยละ 12.7 ส่วนกลุ่มเยาวชน อายุุ 15 - 19 ปีี มีีอัตราการสูบบุุหรี่่ต่ำสุด ร้อยละ 6.2 นอกจากนี้ยังพบว่า เยาวชนไทยที่่เริ่มสูบบุุหรี่่ครั้งแรก ในภาพรวมของทั้งประเทศ คือ 18.5 ปีี เมื่อเปรียบเทียบ สัดส่วนอัตราการสูบบุุหรี่่ระหว่างเพศ พบว่า เพศชาย มีีอายุุเฉลี่ยที่่เริ่มสูบบุุหรี่่ เร็วกว่าเพศหญิง (18.3 ปีี และ 21.6 ปีี) และสถานการณ์์ที่่สำคัญอีกประเด็น คือการพบ เห็นการสูบบุุหรี่่ในสถานที่่สาธารณะ พบว่าสถานที่่ที่่ ประชาชนส่วนใหญ่่ พบเห็นการสูบบุุหรี่่มากที่่สุด คือ ตลาดสด คิดเป็นร้อยละ 47.0 รองลงมาคือ ร้านอาหาร/ ภัตตาคาร ร้อยละ 36.6 ขนส่งสาธารณะ ร้อยละ 35.3 และศาสนสถาน ร้อยละ 21.0 ส่วนการพบเห็นการสูบบุุหรี่่ บริเวณอาคารสถานที่่ราชการ และอาคารมหาวิทยาลัย คิดเป็นร้อยละ 15.1 และ 14.0 ตามลำดับ       ด้วยเหตุผลและสถานการณ์ดังกล่าว คณะกรรมการอิสลามประจำมัสยิดอัลฮาญาติดดีนีย๊ะห์  จึงจำเป็นที่่จะต้องเร่งปรับปรุงพัฒนา นโยบาย มาตรการ แนวทาง และกลไกการดำเนินงานต่าง ๆ ที่่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานควบคุมการบริโภคยาสูบ และปัจจุบันการให้บริการช่วยเลิกบุหรี่อย่างเป็นระบบยังไม่ทั่วถึง ประชาชนที่มาประกอบศาสนกิจยังมีพฤติกรรมสูบบุหรี่ในเขตมัสยิด โดยมัสยิดมีการรณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้มีการ ลด ละ เลิกบุหรี่ ในบริเวณมัสยิดและชุมชนโดยมีความมุ่งหวังให้มัสยิดเป็นเขตปลอดบุหรี่ผ่านกระบวนการทำความเข้าใจ นำไปสู่ความรวมมือของคนที่มามัสยิด ทั้งนี้จะเน้นให้ความรู้ การขอความร่วมมือ ในการตระหนักถึงพิษภัยหรือโทษของบุหรี่ดังนั้นเพื่อให้มัสยิดและชุมชนเกิดพื้นที่ปลอดบุหรีโครงการนี้ขึ้นมาภายใต้โครงการมัสยิดปลอดบุหรี่ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ พิษภัยและโทษจากการสูบบุหรี่
  2. เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชนในพื้นที่มัสยิดและชุมชนน้อยลง
  3. เพื่อให้เด็กตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในการร่วมรณรงค์ เพื่อ ลด ละ เลิกบุหรี่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. สามารถเห็นความสำคัญของพิษภัยจากการสูบบุหรี่ ผลกระทบและความสูญเสีย ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม
    2. ได้มีจำนวนผู้สูบบุหรี่ที่มีความสมัครใจและสามารถเลิกสูบบุหรี่ได้อย่างต่อเนื่อง
    3. เกิดเป็นตัวอย่างที่ดีในการไม่สูบบุหรี่และสร้างค่านิยมใหม่ที่ไม่สูบบุหรี่ในชุมชน
    4. เกิดต้นแบบในการดำเนินงานจากชุมชน ที่สามารถเผยแพร่ได้ นำไปสู่การเลิกสูบบุหรี่และการลงมือปฏิบัติปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสุขภาพที่ดี

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ พิษภัยและโทษจากการสูบบุหรี่
    ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนสังคม มีความรู้ถึงโทษของบุหรี่ เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น

     

    2 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชนในพื้นที่มัสยิดและชุมชนน้อยลง
    ตัวชี้วัด : อัตราการสูบบุหรี่หน้าใหม่ลดน้อยลง มีการรณรงค์ ลด ละ เลิก บุหรี่เป็นประจำทุกวันศุกร์

     

    3 เพื่อให้เด็กตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในการร่วมรณรงค์ เพื่อ ลด ละ เลิกบุหรี่
    ตัวชี้วัด : เด็กให้ความสนใจ เกิดการปฏิบัติศาสนกิจอย่างมีสมาธิ เกิดสำนึกในทางที่ดี และเห็นความสำคัญของโทษของ บุหรี่

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้ พิษภัยและโทษจากการสูบบุหรี่ (2) เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชนในพื้นที่มัสยิดและชุมชนน้อยลง (3) เพื่อให้เด็กตระหนักสนใจและมีส่วนร่วมในการร่วมรณรงค์ เพื่อ ลด ละ เลิกบุหรี่

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการมัสยิดปลอดบุหรี่ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 67-L2983-02-014

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายมะดารี กะจิบือซา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด