กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุ ร่มโพธิ์พัฒน์(บ้านฝาละมี) ตำบลฝาละมี ประจำปี 2567 ”

ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
1.นางทัศนีย์ สุขบัวแก้ว 2. นายถาวร ชูจินดา 3. น.ส.นิยม ณ พัทลุง 4. นางบุญพา พรหมแก้ว 5. นส.โสพิศ ภักดีบำรุง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุ ร่มโพธิ์พัฒน์(บ้านฝาละมี) ตำบลฝาละมี ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3338-02-01 เลขที่ข้อตกลง L3338-02-01

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุ ร่มโพธิ์พัฒน์(บ้านฝาละมี) ตำบลฝาละมี ประจำปี 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุ ร่มโพธิ์พัฒน์(บ้านฝาละมี) ตำบลฝาละมี ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุ ร่มโพธิ์พัฒน์(บ้านฝาละมี) ตำบลฝาละมี ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฝาละมี อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L3338-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฝาละมี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุขส่งผลให้จำนวนและสัดส่วนของประชากร ผู้สูงอายุไทยเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยโครงสร้างประชากรผู้สูงอายุ พบว่า ปัจจุบันประเทศไทย (19 กันยายน 2557) มีประชากร 64.9224 ล้านคน มีจานวนประชากรผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป เท่ากับ 10.02 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 15.43 จานวนประชากรผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป เท่ากับ 6.70 ล้านคน คิดเป็น ร้อยละ 10.32 ซึ่งจากการเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างประชากรของประเทศไทยที่ผ่านมา พบว่าสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเป็นลาดับ โดยอัตราของประชากรผู้สูงอายุไทยมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด โดยในปี พ.ศ. 2553 มีสัดส่วนผู้สูงอายุ อยู่ที่ร้อยละ 10.7 ของประชากรรวม หรือ 7.02 ล้านคน และในปี 2555 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 12.8 ของประชากรรวม (8.3 ล้านคน) ปัจจุบันประเทศไทยมีสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุ ร้อยละ14.7 (9.5 ล้านคน) และคาดการณ์ว่าในปี 2568 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุเกินกว่าร้อยละ 20 (14.4 ล้านคน) นั่นหมายถึงว่าประเทศไทยได้เป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัย ได้ดำเนินงานพัฒนาตำบลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวตั้งแต่ปี 2551 จนถึงปัจจุบันการดำเนินงานตำบลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวจึงเป็นกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านผู้สูงอายุของกระทรวงสาธารณสุขเพื่อช่วยผลักดันการดำเนินงานของภาคส่วนต่างๆ ให้มีระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุทั้งในสถานบริการสุขภาพและในชุมชน โดยมีผู้สูงอายุกลุ่มที่พึ่งตนเองได้ ช่วยเหลือผู้อื่นชุมชน และสังคมได้ (ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 1: ติดสังคม) รวมตัวกันเป็นชมรมผู้สูงอายุที่เข้มแข็งที่จะส่งเสริมสนับสนุน การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค และดูแลผู้สูงอายุกลุ่มที่พึ่งตนเองได้บ้าง ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง (ผู้สูงอายุกลุ่มที่ 2: ติดบ้าน) และผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งตนเองไม่ได้ ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ พิการ หรือทุพพลภาพ (ผู้สูงอายุกลุ่มที่3 : ติดเตียง) ให้เป็นผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ ชมรมผู้สูงอายุ ร่มโพธิ์พัฒน์(บ้านฝาละมี)ได้ตระหนักถึงคุณค่าและสุขภาพของผู้สูงอายุในพื้นที่ รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านฝาละมี รวมถึงเข้าใจ สภาพปัญหาต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุในทุกๆด้านดังที่กล่าวมาข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุรพ.สต.บ้านฝาละมี และจัดกิจกรรมต่างๆให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการของผู้สูงอายุอำเภอปากพะยูน รวมถึงกลุ่มชมรมผู้สูงอายุในตำบลฝาละมีโดยเพิ่มแนวคิดในการดำเนินกิจกรรมเป็นแบบ “สังคมเพื่อคนทุกวัย และผู้สูงอายุยุคใหม่ ห่วงใยใส่ใจสุขภาพ” โดยมุ่งหวังให้เกิดการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครองท้องถิ่น และหน่วยงานภาครัฐ ทั้งนี้ได้มุ่งเน้นในด้าน การส่งเสริมพัฒนาเกี่ยวกับสุขภาพ สังคม และเศรษฐกิจภูมิปัญญาของผู้สูงอายุและครอบครัว และเพื่อเป็นการส่งเสริมกิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ การต่อยอด การพัฒนาผู้สูงอายุไปสู่เป้าหมาย ให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพทางสังคม ภูมิปัญญา เศรษฐกิจ และสุขภาพ โดยไม่เป็นภาระต่อสังคมและครอบครัวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว
  3. เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล
  4. เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
  5. เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล
  6. เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ
  7. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  8. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  9. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมประชุมผู้สูงอายุประจำเดือน
  2. กิจกรรมการอบรมรมให้ความรู้ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุร่วมพิธีวันสำคัญทางศาสนา
  3. การจัดกิจกรรมสร้างสุขภาพในชุมชน
  4. จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ และรดน้ำผู้สูงอายุในวันผู้สูงอายุแห่งชาติ
  5. เยี่ยม ติดตามภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ ที่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 450
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ 2. ชมรมผู้สูงอายุในอำเภอปากพะยูน ให้ผ่านเกณฑ์ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ 3. ผู้สูงอายุได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม และแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความคิดเห็นทัศนะต่างๆ ร่วมกัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดกิจกรรมประชุมผู้สูงอายุประจำเดือน

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุม จัดกิจกรรม พบปะสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ ทุกวันที่ 12  ของทุกเดือน
ประชุมจัดกิจกรรมผู้สูงอายุประจำเดือน
          - ตรวจสุขภาพ,สภาวะสุขภาพ
          - การส่งเสริมการออกกำลังกาย
          - สวดมนต์,นั่งสมาธิ
            - ความรู้/การดูแลตนเอง/โรคผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดกิจกรรมทุกเดือน  จำนวน  12  ครั้ง  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเฉลี่ย เดือนละ  50-60  คน ผู้สูงอายุ ได้รับความรู้  ได้รับการตรวจสุขภาพ และได้พบปะพูดคุน กับเพื่อนสมาชิกด้วยกัน ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตดีขึ้น

 

0 0

2. กิจกรรมการอบรมรมให้ความรู้ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุร่วมพิธีวันสำคัญทางศาสนา

วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุม  ประชาสัมพันธ์ กิจกรรรมตามโครงการ รับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรม ประสานงานกับฝ่ายที่เกี่ยวข้อง จัดกิจกรรม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุร่วมพิธีวันสำคัญทางศาสนา ในวันมาฆะบูชา  ณ วัดพระมหาธาตุ  วัตธาตุน้อย  วัดอื่นๆ ในจังหวัดนครรีธรรมราช กิจกรรมเวียนเทียน ทำบุญในวันมาฆะบูชา  ตักบาตรทำบุญวันสงกรานต์ วันผู้สูงอายุแห่งชาติ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดกิจกรรม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุร่วมพิธีวันสำคัญทางศาสนา ในวันมาฆะบูชา  ณ วัดพระมหาธาตุ  วัตธาตุน้อย  วัดอื่นๆ ในจังหวัดนครรีธรรมราช  จำนวน  1 วัน  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม  จำนวน 50 คน กิจกรรมเวียนเทียน ทำบุญในวันมาฆะบูชา  ตักบาตรทำบุญวันสงกรานต์ วันผู้สูงอายุแห่งชาติ  จำนวน 4  ครั้ง  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม  จำนวน 200 คน ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตดีขึ้น
ผู้สูงอายุ ได้แลกเปลียนประะสบการณ์ ร่วมกัน

 

0 0

3. การจัดกิจกรรมสร้างสุขภาพในชุมชน

วันที่ 1 มีนาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้การดูแลสุขภาพ แก่ผู้สูงวัย ประสานงานวิทยา  แจ้งกลุ่มเป้าหมาย  ตรวจสุขภาพ   ให้ความรู้การดูแลสุขภาพ  เช่น  - การปรับเปลียนพฤติกรรมสุขภาพ - การดูแลตนเองผู้ป่วยโรคเรื้อรัง - การออกกำลังกาย - การส่งเสริมสุขภาพจิต - การประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ - การแลกเปลียนเรียนรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ให้ความรู้การดูแลสุขภาพ แก่ผู้สูงวัย จำนวน 1 ครั้ง จำนวน 80 คน
  - การคัดเลือกผู้สูงอายุดีเด่น  จำนวน 5 คน - เยี่ยมผู้สูงอายุ เปราะบาง  จำนวน  20 คน
- ส่งเสริม สนับสนุนการออกกำลังกาย จำนวน 80  คน - ผู้สูงอายุ มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเมหาะสม จำนวน 20 คน

 

0 0

4. จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ และรดน้ำผู้สูงอายุในวันผู้สูงอายุแห่งชาติ

วันที่ 16 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุม คณะทำงาน  ประชาสัมพันธ์โครงการ ประสานงาน คัดเลือกผู้เข้าร่วมกิจกรรม จัดเตรียมสถานที่  จัดหาวัสดุอุปกรณ์ การจัดกิจกรรม ประสานงานกับฝ่ายต่างๆ
จัดกิจกรรม รดน้ำขอพร ผู้สูงอายุ
ให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ มอบรางวัลผู้สูงอายุต้นแบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ และรดน้ำผู้สูงอายุในวันผู้สูงอายุแห่งชาติ  จำนวน  1 ครั้ง  ผู้สูงอายุให้ลูกหลานได้รดน้ำจำนว 40 ท่าน จาก 3  หมู่บ้าน
มีผู้สูงอายุ ผู้นำชุมชน อสม. และประชาชนทั่วไป เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 200  คน ผู้สูงอายุมีสุขภาพจิตดี ได้ตัวแทนผู้สูขอายุสุขภาพดีต้นแบบ จำนวน 5  ท่าน ผู้สูงอายุ และผู้ดูแล มีความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูอายุมากขึ้น ผู้สูงอายุ ได้ร่วมกิจกรรม การส่งเสริมประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น

 

0 0

5. เยี่ยม ติดตามภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ ที่บ้าน

วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • สำรวจและจัดทำทะเบียนผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง
  • ประชุมคณะกรรมการ จัดทำแผนการเยี่ยม และสอบถามความต้องการ สิ่งของ อุปโภค บริโภค
    • จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ของเยี่ยม
    • เยี่ยม ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง
    • สอบถาม ประเมิน สภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
    • สรุป ประเมินผลการเยี่ยม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • สำรวจและจัดทำทะเบียนผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง  1 ครั้ง มีผู้สูงอายุ จำนวน 15 ราย
  • ประชุมคณะกรรมการ จัดทำแผนการเยี่ยม และสอบถามความต้องการ สิ่งของ อุปโภค บริโภค  จำนวน 1 ครั้ง จำนวน ผู้เข้าประชุม 15 คน
    • จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ของเยี่ยม จำนวน 15 ชุด
    • เยี่ยม ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง  จำนวน 15 ราย
    • สอบถาม ประเมิน สภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
    • สรุป ประเมินผลการเยี่ยม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง
34.00 28.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว ลดลง
34.00 28.00

 

3 เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น
56.00 120.00

 

4 เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ลดลง
35.00 20.00

 

5 เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล
ตัวชี้วัด : จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น
300.00 400.00

 

6 เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีกลุ่มหรือสังกัดชมรม เพิ่มขึ้น
240.00 300.00

 

7 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลงลด
250.00 200.00

 

8 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
250.00 200.00

 

9 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น
300.00 400.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 450
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 450
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว (3) เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล (4) เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง (5) เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (6) เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ (7) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (8) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (9) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมประชุมผู้สูงอายุประจำเดือน (2) กิจกรรมการอบรมรมให้ความรู้ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุร่วมพิธีวันสำคัญทางศาสนา (3) การจัดกิจกรรมสร้างสุขภาพในชุมชน (4) จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ และรดน้ำผู้สูงอายุในวันผู้สูงอายุแห่งชาติ (5) เยี่ยม ติดตามภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ ที่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุ ร่มโพธิ์พัฒน์(บ้านฝาละมี) ตำบลฝาละมี ประจำปี 2567

รหัสโครงการ L3338-02-01 รหัสสัญญา L3338-02-01 ระยะเวลาโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 สิงหาคม 2567

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ความรู้การดูแลสุขภาพของตนเอง ปัจจัยเสียงของการเกิดโรค

บันทึกการประชุม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

การทำงานของคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุ

รายชื่อคณะกรรมการ ผู้เข้าร่วมประชุม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เกิดชมรมผู้สูงอายุต้นแบบ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

การรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย เหล้า บุหรี และความเครียด

แบบประเมินความรู้ พฤติกรรมสุขภาพ

ขยายไปสู่ครัวเรือนอื่นๆ ในชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

การหลีกเลี่ยง อาหารที่ไม่เหมาะสม หวาน มันเค็ม อาหารสำเร็จรูป การดื่มเหล้า สูบบุหรี่

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับกลุ่มวัยและวิธีชีวิตของแต่ละคน

ภาพกิจกรรม รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

การดื่มเหล้า สูบบุหรี่ ของผู้สูงอายุ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

การลดความเครียด การรวมกลุ่มของผู้สูงอายุ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

การร่วมกิจกรรมประเพณีในท้องถิ่น การใช้พืช ผักสมุนไพร ในการดูแลสุขภาพ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

การดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุ ในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

การจัดกิจกรรมครอบครัว สร้างความรักความอบอุ่นในครัวเรือน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

การประชุมทุกวันที่ 12 ของเดือน

รายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

ทำงานร่วมกับ อบต. ผู้นำชุมชน อสม. รพ.สต. วัด

ภาพกิจกรรม รายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม

ขอสนัลสนุน งบประมาณ ความรู้จากหน่วยงาน องค์กรอื่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

การสำรวจข้อมูล การประเมินสุขภาพ การวางแผน การดำเนินโครงการ และประเมินผลโครงการ

การจัดเวที จัดทำแผนงานโครงการ

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

ใช้ อสม. CG และผู้สูงอายุต้นแบบในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

เยี่ยม ดูแลผู้สูงอายุ อย่างต่อเนื่อง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

เกิดชุมชนเอื้อากร  การดูแลผู้สูงอายุในชุมชน ยกย่อง ผู้สูงอายุ

ภาพกิจกรรม สรุปผลการเรียนรู้

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

การส่งเสริมการปลูกผัก กินเอง การผลิตของใช้ในครัวเรือน

ภาพกิจกรรม

ขอสนับสนุน ทุน และงบประมาณจากหน่วยงาน องค์กร ื่น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

การเยี่ยมดูแล ผู้สูงอายุ ที่ขาดผู้ดูแล  ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียง โดยคณะกรรมการ และ CG ในชุมชน

ภาพกิจกรรม รายงานผลการเยี่ยมติดตามผู้ด้อยโอกาส กลุ่มเปราะบาง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุ ร่มโพธิ์พัฒน์(บ้านฝาละมี) ตำบลฝาละมี ประจำปี 2567 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3338-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( 1.นางทัศนีย์ สุขบัวแก้ว 2. นายถาวร ชูจินดา 3. น.ส.นิยม ณ พัทลุง 4. นางบุญพา พรหมแก้ว 5. นส.โสพิศ ภักดีบำรุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด