กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเปียะ


“ โครงการป้องกันควบคุม โรคไข้เลือดออก ”

ตำบลคลองเปียะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายเกษม บุษบงค์

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันควบคุม โรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลคลองเปียะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5175-01-01 เลขที่ข้อตกลง 67-L5175-01-01

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันควบคุม โรคไข้เลือดออก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเปียะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเปียะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันควบคุม โรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันควบคุม โรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเปียะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 64-L5175-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,760.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเปียะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไข้เลือดออกมีการระบาดกระจายทุกจังหวัด การแพร่กระจายโรคมีความแตกต่างในแต่ละพื้นที่ แต่จากสถิติพบว่ามีรูปแบบการระบาด 1 ปี เว้น 1 ปี หรือ 1ปี เว้น 2 ปีซึ่งในภาคใต้ที่มีฝนตกชุก พบการระบาดแบบ 1 ปี เว้น 1 ปี เพิ่มมากขึ้น กรมควบคุมโรคได้พยากรณ์โรคโดยสถิติแบบอนุกรมเวลาย้อนหลัง 11 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2551-2561 พบว่า ในปี 2561 จะมีการระบาดทั่วทุกภาค ซึ่งจากข้อมูลดังกล่าว คาดการณ์ได้ว่า ในปี 2563 และ 2565 จะมีโอกาสการระบาดของโรคไข้เลือดออกในหลายพื้นที่ของภาคใต้ในปัจจุบันพบว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออก ยังทวีความรุนแรงและมีผู้ป่วยมากขึ้นซึ่งจำเป็นต้องทำการควบคุมป้องกันและรณรงค์เพื่อให้สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกกลับอยู่ในสภาวะที่ไม่รุนแรงและเพื่อเป็นการป้องกันอย่างต่อเนื่องซึ่งสถานการณ์โรคไข้เลือดออก อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลามีผู้ป่วยจำนวน 305 รายตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2566- 24 มิถุนายน 2566 ซึ่งมีผู้ป่วยเพิ่มมากขึ้นและมีการกระจายเป็นวงกว้างหลายๆ ตำบล ส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มนักเรียน นักศึกษา และ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2566-29 พฤศจิกายน 2566 พบผู้ป่วยไข้เลือดออกในตำบลคลองเปียะ 16 ราย ดังนั้นเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยการตัดวงจรชีวิตของยุง ต้องมีการกำจัดลูกน้ำยุงลายทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงอย่างสม่ำเสมอทุกๆ 7 วัน การฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุงลายตัวแก่เมื่อพบผู้ป่วยในรัศมี 100 เมตร และการฉีดพ่นเชิงรุกเพื่อป้องกันการเกิดโรคเป็นกลุ่มก้อน ได้แก่ โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในช่วงฤดูฝนที่เสี่ยงต่อการระบาดรวมทั้งต้องจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาด ปลอดโปร่ง ไม่เป็นที่เกาะพักของยุง จึงจะเป็นการตัดวงจรของยุงหากมาตรการเหล่านี้ไม่เพียงพอ ก็อาจพบผู้ป่วยได้ เนื่องจากปัจจุบันฤดูกลางเปลี่ยนแปลง มีฝนตกหลายช่วงเกือบทั้งปีโดยต้องดำเนินการร่วมกันทั้งส่วนราชการและประชาชน องค์การบริหารส่วนตำบลคลองเปียะ โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
  2. เพื่อให้คนในชุมชนคลองเปียะ มีภาวะสุขภาพที่ดี ลดการเจ็บป่วยจากโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมวางแผนคณะทำงาน
  2. ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก
  3. การรณรงค์ไข้เลือดออกและดำเนินการพ่นหมอกควันบริเวณโรงเรียนและศูนย์เลี้ยงเด็กก่อนเปิดภาคเรียน
  4. การดำเนินการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและดำเนินการพ่นหมอกควันบ้านผู้ป่วย รัศมี 100 เมตร
  5. Big Cleaning Day โดยร่วมกันกับรพสต โรงเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขคลองเปียะ
  6. สรุปประเมินผลการดำเนินงานการควบคุมป้องกันโรคในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 500
กลุ่มวัยทำงาน 800
กลุ่มผู้สูงอายุ 500
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 5
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 20
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ในตำบลคลองเปียะ
  2. สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างทันท่วงที และลดอัตราการมีผู้ป่วยเพิ่ม
  3. ลดแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลายภายในบ้าน ชุมชน วัด โรงเรียนให้น้อยลง
  4. มีอุปกรณ์ในการดำเนินงานควบคุมไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพและทันท่วงทีก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนในตำบลคลองเปียะได้เร็วที่สุด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในตำบลคลองเปียะร้อยละ 10
0.00

 

2 เพื่อให้คนในชุมชนคลองเปียะ มีภาวะสุขภาพที่ดี ลดการเจ็บป่วยจากโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ลดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในบ้านชุมชน วัด โรงเรียนให้น้อยลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3475
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 500
กลุ่มวัยทำงาน 800
กลุ่มผู้สูงอายุ 500
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 5
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 20
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,500
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อให้คนในชุมชนคลองเปียะ มีภาวะสุขภาพที่ดี ลดการเจ็บป่วยจากโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนคณะทำงาน (2) ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) การรณรงค์ไข้เลือดออกและดำเนินการพ่นหมอกควันบริเวณโรงเรียนและศูนย์เลี้ยงเด็กก่อนเปิดภาคเรียน (4) การดำเนินการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและดำเนินการพ่นหมอกควันบ้านผู้ป่วย รัศมี 100 เมตร (5) Big Cleaning Day โดยร่วมกันกับรพสต โรงเรียน และอาสาสมัครสาธารณสุขคลองเปียะ (6) สรุปประเมินผลการดำเนินงานการควบคุมป้องกันโรคในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันควบคุม โรคไข้เลือดออก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 64-L5175-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเกษม บุษบงค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด