โครงการร่วมใจต้านวัณโรค(เชิงรุก) (ศสม.ยะกัง 2)
ชื่อโครงการ | โครงการร่วมใจต้านวัณโรค(เชิงรุก) (ศสม.ยะกัง 2) |
รหัสโครงการ | 60-L7885-1-28 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศสม.ยะกัง 2 |
วันที่อนุมัติ | 20 ธันวาคม 2559 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 21,300.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายตอเฮ อาลี |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 104 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งมีผลกระทบมาจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกและการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทยทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ การแข่งขันทางการตลาด การสื่อสารและการคมนาคมรวมถึงการใช้เทคโนโลยีมากขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพของประชาชนไทยเป็นอย่างมาก จะเห็นได้จากในอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ในปัจจุบันและในอนาคต ปัญหาสุขภาพจะมีผลกระทบมาจากสังคมสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมมากขึ้นตามลำดับจะเห็นได้จากพฤติกรรมที่เป็นปัญหาเช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการออกกำลังกายพฤติกรรมความปลอดภัย การใช้ยาและสารเสพติด ปัญหาสุขภาพจิต และพฤติกรรมเสี่ยงจากการประกอบอาชีพภาคอุตสาหกรรมและการบริการ ดังนั้นการดำเนินการในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศ จำเป็นจะต้องพัฒนาประชาชนให้มีองค์ความรู้ ทักษะที่จำเป็น และพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ทั้งระดับบุคคลครอบครัว และชุมชนครอบคลุมกลุ่มประชากรเป้าหมาย เพื่อให้ประชาชนสามารถส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่ตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจำเป็นจะต้องส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่สำคัญๆ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขของประเทศ
นโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ช่วยคนไทยห่างไกลโรค มีเป้าหมายที่สำคัญ คือ การสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชน และลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาว โดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนให้การดำเนินงานช่วยคนไทยห่างไกลโรค ให้บรรลุผลสำเร็จประชาชนมีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเอง มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยใช้หลัก 3 อ.เป็นหลัก เพื่อให้มีสุขภาวะในทุกด้าน หลังการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเพื่อ ค้นหาโรคในระยะเริ่มต้น ดังนั้น ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองกำปงบารู จึงได้จัดทำโครงการรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง/โรคหลอดเลือดสมองและโรคอ้วนเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และสามารถนำไปปฏิบัติได้ เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาและทานยาสม่ำเสมอและครบชุดของการรักษา
|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
๑. ประชาสัมพันธ์โครงการ ๒. ปชช.เครือข่ายร่วมออกคัดกรองผู้มีภาวะเสี่ยง/ผู้สัมผัสโรค/ผู้ที่มีอาการไอเรื้อรังเกิน 1 เดือน ๓. อสม.ในการเป็นพี่เลี้ยงการทำ DOT (การรับประทานยาต่อหน้าผู้ติดตามในระยะเข้มข้นและระยะต่อเนื่อง 6 ครั้ง/ราย )ผู้ป่วยรายใหม่และผู้ป่วยที่กำลังรักษาอยู่ ๔. การให้ความรู้และวิธีการดูแลตนเองเองและการป้องกันการแพร่กระจายของโรคแก่ผู้ป่วย ๕. สรุปผลการดำเนินการ
1.ประชาชนจิตอาสามีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคและวิธีการเก็บเสมหะที่ถูกต้อง 2.สามารถค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ได้และผู้ป่วยได้รับการรักษาอย่างรวดเร็วและถูกต้อง 3.ผู้ป่วยรายเก่า ได้รับการดูแลได้รับการรักษาสม่ำเสมอ และทานยาครบชุด
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 ธ.ค. 2559 10:47 น.