กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าชิง


“ โครงการว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้อย่างปลอดภัย ”

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วน ตำบลป่าชิง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
ประธานคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลป่าชิง

ชื่อโครงการ โครงการว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้อย่างปลอดภัย

ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วน ตำบลป่าชิง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5185-02-08 เลขที่ข้อตกลง 8/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 เมษายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้อย่างปลอดภัย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วน ตำบลป่าชิง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าชิง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้อย่างปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้อย่างปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วน ตำบลป่าชิง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5185-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 เมษายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,455.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าชิง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันจะพบข่าวเกี่ยวกับปัญหาเด็กจมน้ำเป็นจำนวนมาก เด็กที่มีความเสี่ยงมากที่สุด คือระหว่างอายุ 1-9 ปี โดยมีปัจจัยเสี่ยง คือ เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี มีการทรงตัวไม่ดี ทำให้ล้มในท่าที่ศีรษะทิ่มลงได้ง่าย จึงมักพบเด็กจมน้ำสูง ตามแหล่งน้ำภายในบ้านหรือบริเวณรอบๆบ้าน อีกอย่าง คือ ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ไม่มีรั้วรอบแหล่งน้ำเพื่อแบ่งแยกเด็กออกจากแหล่งน้ำ การจัดพื้นที่เล่นที่ไม่เหมาะสมให้แก่เด็ก รวมถึงการที่ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และเด็ก ไม่มีความรู้ในการกู้ชีพหรือใช้วิธีปฐมพยาบาลแบบผิดวิธี เป็นต้น จากเหตุดังกล่าวหากจะป้องกันการเสียชีวิตหรือลดอัตราการตายจากการจมน้ำของเด็ก จำเป็นต้องฝึกหัดให้เด็กว่ายน้ำเป็นและเรียนรู้วิธีช่วยชีวิตคนจมน้ำโดยใช้อุปกรณ์ใกล้มือ ดังนั้น กิจกรรมการว่ายน้ำถือว่ามีประโยชน์อย่างมากมาย อาทิ ช่วยบริหารร่างกายของเด็กปฐมวัยได้ทุกส่วน และยังช่วยฝึกความแข็งแรงของระบบการหายใจ นอกจากนี้การว่ายน้ำยังมีประโยชน์ทางด้านกายภาพ คือ สามารถช่วยให้กล้ามเนื้อผ่อนคลายจากความตึงเครียด เสริมสร้างให้เด็กรู้สึกกระปรี้กระเปร่า แข็งแรง และที่สำคัญยังช่วยให้เด็กได้เรียนรู้วิธีการเอาตัวรอดหากตกน้ำหรือจมน้ำ การพัฒนาทักษะการว่ายน้ำยังช่วยให้เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ ส่วนด้านความรู้สึกและอารมณ์ การเรียนว่ายน้ำจะช่วยเกิดการกระตุ้นการรับรู้และการสัมผัสตลอดเวลา ส่งผลให้เด็กมีอารมณ์ดี สดใสร่าเริงไม่งอแง และมีสมาธิพร้อมเรียนรู้สิ่งต่างๆ อีกทั้งช่วยส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการด้านสมองสามารถเรียนรู้และจดจำได้ดีขึ้น ด้านสติปัญญาช่วยให้เด็กปฐมวัยสามารถรับฟังและปฏิบัติตามคำสั่งได้โดยเด็กขณะอยู่ในน้ำจะมีการเคลื่อนที่ของร่างกาย สมองจะตื่นตัวตลอดเวลา มีผลทำให้สมองได้รับการพัฒนาเร็วกว่าเด็กเล็กในวัยเดียวกันที่ไม่ได้เรียนว่ายน้ำช่วยให้เด็กปฐมวัยเจริญอาหาร นอนหลับพักผ่อนสนิท เป็นการกระตุ้นฮอร์โมนการเจริญเติบโต (Growth Hormone) ให้เด็กมีความแข็งแรง สมบูรณ์สมวัย เด็กปฐมวัยที่ได้รับการฝึกทักษะการว่ายน้ำอย่างถูกวิธีจะไม่กลัวน้ำ และมีพื้นฐานการว่ายน้ำที่ดีดังนั้น การฝึกให้เด็กคุ้นชินกับการอยู่ในน้ำบ่อยๆ จะช่วยให้เด็กรู้สึกสนุก ผ่อนคลาย เกิดการจดจำทักษะการว่ายน้ำที่สำคัญทั้ง 4 ทักษะ ได้แก่ 1. ทักษะการกลั้นหายใจในน้ำ 2. ทักษะการลอยตัวในน้ำ3. ทักษะการเคลื่อนที่ในน้ำอย่างถูกต้อง 4. ทักษะการเอาตัวรอดในน้ำ ทักษะเหล่านี้จะมีส่วนช่วยให้เด็กสามารถเอาตัวรอดจากการจมน้ำและช่วยเหลือผู้อื่นได้ ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยคุณครูที่เป็นส่วนสำคัญในการร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน เนื่องจากเด็กยังไม่สามารถอยู่ในน้ำได้เพียงลำพัง คุณครูจะทำหน้าที่เป็นผู้ดูแล คอยพยุง ประคอง ให้กำลังใจ ช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้เด็กไม่กลัวน้ำและการสัมผัสจะช่วยลดความกลัวของเด็กได้
คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลป่าชิงเล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการว่ายน้ำได้เป็น เล่นน้ำได้อย่างปลอดภัย เพื่อให้เด็กมีทักษะการว่ายน้ำให้ปลอดภัยจากการจมน้ำและสามารถช่วยเหลือตนเองได้อีกทั้งสามารถลดอัตราเด็กปฐมวัยเสียชีวิตจากการจมน้ำและมีความปลอดภัยในการดำรงชีวิตประจำวันมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์
  2. เพื่อให้เด็กมีทักษะการว่ายน้ำให้ปลอดภัยจากการจมน้ำและสามารถช่วยเหลือตนเองได้
  3. เพื่อลดอัตราเด็กปฐมวัยเสียชีวิตจากการจมน้ำและมีความปลอดภัยในการดำรงชีวิตประจำวัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดประชุมคณะครู/วางแผนการดำเนินงาน
  2. การฝึกทักษะการลอยตัวในน้ำได้
  3. ติดตามและประเมินพัฒนาการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 14
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์
  2. เด็กมีทักษะการว่ายน้ำให้ปลอดภัยจากการจมน้ำและสามารถช่วยเหลือตนเองเบื้องต้นได้
  3. เด็กปฐมวัยมีอัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำลดลงและมีความปลอดภัยในการดำรงชีวิตประจำวัน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์
ตัวชี้วัด :
30.00 50.00

 

2 เพื่อให้เด็กมีทักษะการว่ายน้ำให้ปลอดภัยจากการจมน้ำและสามารถช่วยเหลือตนเองได้
ตัวชี้วัด :
20.00 30.00

 

3 เพื่อลดอัตราเด็กปฐมวัยเสียชีวิตจากการจมน้ำและมีความปลอดภัยในการดำรงชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด :
20.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 14
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 14
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ (2) เพื่อให้เด็กมีทักษะการว่ายน้ำให้ปลอดภัยจากการจมน้ำและสามารถช่วยเหลือตนเองได้ (3) เพื่อลดอัตราเด็กปฐมวัยเสียชีวิตจากการจมน้ำและมีความปลอดภัยในการดำรงชีวิตประจำวัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดประชุมคณะครู/วางแผนการดำเนินงาน (2) การฝึกทักษะการลอยตัวในน้ำได้ (3) ติดตามและประเมินพัฒนาการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการว่ายน้ำเป็น เล่นน้ำได้อย่างปลอดภัย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5185-02-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ประธานคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลป่าชิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด