กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลป่าชิง
รหัสโครงการ 67-L5185-02-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ คณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลป่าชิง
วันที่อนุมัติ 21 ธันวาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 เมษายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 31 พฤษภาคม 2567
งบประมาณ 3,780.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลป่าชิง
พี่เลี้ยงโครงการ -
พื้นที่ดำเนินการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตำบลป่าชิง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 39 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีปัญหาฟันผุ
30.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในสภาวะปัจจุบันเด็กก่อนวัยเรียนประสบปัญหาเกี่ยวกับช่องปากซึ่งสาเหตุของการเกิดฟันผุเนื่องจากเด็กชอบรับประทานอาหารรสหวานจัดประเภทลูกอมขนมและไม่ชอบแปรงฟันหลังจากรับประทานอาหาร รวมทั้งผู้ปกครองขาดการเอาใจใส่ดูแลช่องปากและฟันของเด็กจึงทำให้เกิดปัญหาฟันผุซึ่งผู้ปกครองต้องสิ้นเปลืองเงินที่ใช้ในการรักษานอกจากนี้ความเจ็บปวดของอาการปวดฟันยังเป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้ของเด็ก และยังมีผลเสียต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตด้วย กล่าวคือฟันน้ำนมที่ถูกถอนหรือหลุดไปก่อนที่ฟันแท้จะขึ้นแทนที่จะทำให้ฟันที่อยู่ติดกันรวนเก ล้ม เอียงเข้าหาช่องว่าง ทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นแทนตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติ อาจจะขึ้นมาในลักษณะบิด ซ้อนกันหรือมีขนาดใหญ่ไม่เหมาะสมกับใบหน้าของเด็ก ซึ่งจะเป็นปมด้อยทำให้เด็กไม่กล้าในการแสดงออกและส่งผลต่อการเรียนรู้ของเด็ก การแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้หลากหลายรูปแบบได้แก่ การส่งเสริมให้เด็กดูแลและทำความสะอาดช่องปาก ด้วยตนเอง , การแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน , การสอนทันตสุขศึกษาในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก,การอบรมให้ความรู้นักเรียนและครูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก และการรับบริการทันตกรรมซึ่งวิธีการแก้ไขปัญหาดังกล่าวมีส่วนช่วยในการเสริมสร้างทัศนคติที่ดีในการดูแลทันตสุขภาพของเด็ก และทำให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดี คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลป่าชิงตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวซึ่งอาจเป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้ของเด็ก จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลป่าชิงขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็กได้ดูแลรักษาช่องปากด้วยตนเอง โดยการแปรงฟันที่ถูกวิธี

 

30.00 40.00
2 เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง

ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีปัญหาฟันผุ

30.00 20.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 3,780.00 0 0.00
1 - 19 ม.ค. 67 สำรวจข้อมูลสุขภาพทันตะของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ป่าชิง 0 0.00 -
22 ม.ค. 67 - 29 ก.พ. 67 กิจกรรมอบรมให้ความรู้และประเมินสุขภาวะ 0 3,780.00 -
1 - 29 มี.ค. 67 การดูแลทันตกรรมและสุขภาพช่องปาก 0 0.00 -
1 - 30 เม.ย. 67 การติดตามและประเมินผล 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี 2.เด็กได้ดูแลรักษาช่องปากด้วยตนเอง สามารถแปรงฟันที่ถูกวิธีด้วยตนเอง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ธ.ค. 2566 10:23 น.