กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ชะลอชรา ชีวายืนยาว ปี 2567
รหัสโครงการ 67-L1541-2-3
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมผู้สูงอายุตำบลห้วยยอด
วันที่อนุมัติ 15 ธันวาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 9,292.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายกรีฑา ดวงมณี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.762085,99.64546place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ม.ค. 2567 31 ส.ค. 2567 9,292.00
รวมงบประมาณ 9,292.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 426 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการสำรวจข้อมูลจากฐานประชากรตำบลห้วยยอด ( ที่มา : ฐานข้อมูลประชากร ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลห้วยยอด กรกฎาคม 2566 ) พบว่าตำบลห้วยยอด มีเป็นผู้สูงอายุจำนวน 426 คน  คิดเป็นร้อยละ 21.31 ของประชากรทั้งหมด จึงถือได้ว่าตำบลห้วยยอดเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ และพบผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ทั้งโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำนวน 224 คน เพื่อป้องกันการเกิดโรคในผู้ป่วยรายใหม่ในกลุ่มผู้สูงอายุ และลดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ผู้สูงอายุต้องได้รับการส่งเสริมให้เกิดการดูแลตนเองให้เหมาะสมกับโรคหรือความเจ็บป่วยที่มีตลอดจนกระตุ้นให้ทํากิจกรรมต่างๆด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องตามศักยภาพ ทางชมรมผู้สูงอายุตำบลห้วยยอด จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ชะลอชรา ชีวายืนยาว ปี 2567 ขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพและทราบผลการคัดกรองสุขภาพของตนเอง นำไปสู่การจัดการดูแลสุขภาพตนเองให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ตามศักยภาพ ส่งเสริมการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการดูแลสุขภาพ ส่งผลให้ผู้สูงอายุในชุมชนมีชีวิตที่ยืนยาวอย่างมีคุณภาพสืบไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพและทราบผลการคัดกรองสุขภาพของตนเอง

ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ ได้รับการคัดกรองสุขภาพและทราบผลการคัดกรองสุขภาพของตนเอง

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์

ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์

3 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพ

มีผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมตามจำนวนเป้าหมายที่วางไว้

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 486 9,292.00 0 0.00
1 ม.ค. 67 - 31 ส.ค. 67 กิจกรรมคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ 426 852.00 -
1 ม.ค. 67 - 31 ส.ค. 67 อบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการ และการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ 20 2,840.00 -
1 ม.ค. 67 - 31 ส.ค. 67 อบรมให้ความรู้การใช้หลัก “ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย” 20 2,200.00 -
1 ม.ค. 67 - 31 ส.ค. 67 กิจกรรมส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพ(ทำลูกประคบสมุนไพร) 20 3,400.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบ ได้รับการคัดกรองสุขภาพและทราบผลการคัดกรองสุขภาพของตนเอง 2.ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 3.ผู้สูงอายุมีการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลสุขภาพ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ธ.ค. 2566 10:42 น.