โครงการหนูน้อยสุนทรี สุขภาพจิตดีสมวัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการหนูน้อยสุนทรี สุขภาพจิตดีสมวัย ”
ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูเรีย สิเดะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ
มีนาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุนทรี สุขภาพจิตดีสมวัย
ที่อยู่ ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L2997-02-01 เลขที่ข้อตกลง 02/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 มกราคม 2567 ถึง 30 มีนาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหนูน้อยสุนทรี สุขภาพจิตดีสมวัย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสุนทรี สุขภาพจิตดีสมวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหนูน้อยสุนทรี สุขภาพจิตดีสมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L2997-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 มกราคม 2567 - 30 มีนาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยมีความสำคัญอย่างมาก เนื่องจากเด็กวัยนี้ต้องการเรียนรู้ ในสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า จากบิดา มารดา คนรอบข้าง และสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะส่งผลให้เกิดพัฒนาการที่เป็นรากฐานของบุคลิกภาพ อุปนิสัย สุขภาพจิตที่ดี และการเจริญเติบโตทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย หากเด็กมีภาวะเสี่ยงหรือปัญหาพฤติกรรมและอารมณ์ซึ่งจะส่งผลให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมาได้ทั้งปัญหาการเรียน หรืออาการผิดปกติทางกายอื่นๆ การดูแล ช่วยเหลือ หรือเฝ้าระวังที่เหมาะสมจากทุกฝ่ายจะช่วยให้เด็กต่อสู้และผ่านพ้นปัญหาไปได้ในที่สุด
การส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์สำหรับเด็กปฐมวัย มีผลสืบเนื่องมาจากประสบการณ์ที่ได้รับ เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมต่างๆ จากกระบวนการที่เด็กได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและสิ่งแวดล้อมรอบตัว ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างเหมาะสม ด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็กกับพ่อแม่ เด็กกับครู หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดู เพื่อให้เด็กมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลำดับขั้นของพัฒนาการทุกด้านอย่างองค์รวม มีคุณภาพและเต็มตามศักยภาพ โดยเด็กจะต้องเรียนรู้และเป็นผู้กระทำให้เกิดขึ้นด้วยตนเอง โดยยึดหลักที่ว่า หนึ่งแนวคิดเด็กสามารถเรียนรู้ได้หลายกิจกรรม หนึ่งกิจกรรมเด็กสามารถได้หลายทักษะโดยการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ให้มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัว โดยบูรณาการผ่านการเล่นและการจัดกิจกรรมผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ให้เด็กมีสุขภาพจิตที่ดีสมวัย พัฒนาตนเองได้ตามลำดับขั้น และเป็นเยาวชนที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต
จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น โรงเรียนบ้านบางหมูได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดทำโครงการหนูน้อยสุนทรี สุขภาพจิตดีสมวัยให้เด็กปฐมวัยโรงเรียนบ้านบางหมูได้รับบริการส่งเสริมพัฒนาการ และพัฒนาตนเองตามลำดับขั้นของพัฒนาการทุกด้านอย่างเป็นองค์รวม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้ปกครองได้นำความรู้ที่ได้รับไปใช้ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ดีขึ้น 2. เพื่อสร้างสานสัมพันธ์ภายในครอบครัวให้เกิดความรักความอบอุ่น 3. เพื่อลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ และได้รับการส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเด็กปฐมวัย 4. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพกาย - สุขภาพจิตที่ดีขึ้น 5. เพื่อให้เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวมอย่างสมดุลและต่อเนื่อง 6. เพื่อให้เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ที่วางไว้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
18
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
17
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองได้นำความรู้ที่ได้รับไปใช้ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ดีขึ้น
- สร้างสานสัมพันธ์เกิดความรักความอบอุ่นให้กับครอบครัว
- ลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ และได้รับการส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเด็กปฐมวัย
- เด็กปฐมวัยมีสุขภาพกาย - สุขภาพจิตที่ดีขึ้น
- เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวมอย่างสมดุลและต่อเนื่อง
- เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ที่วางไว้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ผู้ปกครองได้นำความรู้ที่ได้รับไปใช้ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ดีขึ้น 2. เพื่อสร้างสานสัมพันธ์ภายในครอบครัวให้เกิดความรักความอบอุ่น 3. เพื่อลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ และได้รับการส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเด็กปฐมวัย 4. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพกาย - สุขภาพจิตที่ดีขึ้น 5. เพื่อให้เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวมอย่างสมดุลและต่อเนื่อง 6. เพื่อให้เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ที่วางไว้
ตัวชี้วัด : 1. เด็กปฐมวัยร้อยละ ๘๐ ได้เข้าร่วมกิจกรรมและได้รับการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา
2. ผู้ปกครองร้อยละ ๘๐ มีความรู้ ทักษะในการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา
3. เด็กปฐมวัยมีสุขภาพจิตที่ดี และดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
35
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
18
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
17
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ปกครองได้นำความรู้ที่ได้รับไปใช้ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ดีขึ้น 2. เพื่อสร้างสานสัมพันธ์ภายในครอบครัวให้เกิดความรักความอบอุ่น 3. เพื่อลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ และได้รับการส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเด็กปฐมวัย 4. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพกาย - สุขภาพจิตที่ดีขึ้น 5. เพื่อให้เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวมอย่างสมดุลและต่อเนื่อง 6. เพื่อให้เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ที่วางไว้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการหนูน้อยสุนทรี สุขภาพจิตดีสมวัย จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L2997-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนูเรีย สิเดะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการหนูน้อยสุนทรี สุขภาพจิตดีสมวัย ”
ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูเรีย สิเดะ
มีนาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L2997-02-01 เลขที่ข้อตกลง 02/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 มกราคม 2567 ถึง 30 มีนาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหนูน้อยสุนทรี สุขภาพจิตดีสมวัย จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสุนทรี สุขภาพจิตดีสมวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหนูน้อยสุนทรี สุขภาพจิตดีสมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L2997-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 มกราคม 2567 - 30 มีนาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้ำบ่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยมีความสำคัญอย่างมาก เนื่องจากเด็กวัยนี้ต้องการเรียนรู้ ในสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว ผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า จากบิดา มารดา คนรอบข้าง และสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะส่งผลให้เกิดพัฒนาการที่เป็นรากฐานของบุคลิกภาพ อุปนิสัย สุขภาพจิตที่ดี และการเจริญเติบโตทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย หากเด็กมีภาวะเสี่ยงหรือปัญหาพฤติกรรมและอารมณ์ซึ่งจะส่งผลให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมาได้ทั้งปัญหาการเรียน หรืออาการผิดปกติทางกายอื่นๆ การดูแล ช่วยเหลือ หรือเฝ้าระวังที่เหมาะสมจากทุกฝ่ายจะช่วยให้เด็กต่อสู้และผ่านพ้นปัญหาไปได้ในที่สุด การส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์สำหรับเด็กปฐมวัย มีผลสืบเนื่องมาจากประสบการณ์ที่ได้รับ เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมต่างๆ จากกระบวนการที่เด็กได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและสิ่งแวดล้อมรอบตัว ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างเหมาะสม ด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็กกับพ่อแม่ เด็กกับครู หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดู เพื่อให้เด็กมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลำดับขั้นของพัฒนาการทุกด้านอย่างองค์รวม มีคุณภาพและเต็มตามศักยภาพ โดยเด็กจะต้องเรียนรู้และเป็นผู้กระทำให้เกิดขึ้นด้วยตนเอง โดยยึดหลักที่ว่า หนึ่งแนวคิดเด็กสามารถเรียนรู้ได้หลายกิจกรรม หนึ่งกิจกรรมเด็กสามารถได้หลายทักษะโดยการจัดกิจกรรมที่หลากหลาย ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ให้มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัว โดยบูรณาการผ่านการเล่นและการจัดกิจกรรมผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 ให้เด็กมีสุขภาพจิตที่ดีสมวัย พัฒนาตนเองได้ตามลำดับขั้น และเป็นเยาวชนที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น โรงเรียนบ้านบางหมูได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงจัดทำโครงการหนูน้อยสุนทรี สุขภาพจิตดีสมวัยให้เด็กปฐมวัยโรงเรียนบ้านบางหมูได้รับบริการส่งเสริมพัฒนาการ และพัฒนาตนเองตามลำดับขั้นของพัฒนาการทุกด้านอย่างเป็นองค์รวม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้ปกครองได้นำความรู้ที่ได้รับไปใช้ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ดีขึ้น 2. เพื่อสร้างสานสัมพันธ์ภายในครอบครัวให้เกิดความรักความอบอุ่น 3. เพื่อลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ และได้รับการส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเด็กปฐมวัย 4. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพกาย - สุขภาพจิตที่ดีขึ้น 5. เพื่อให้เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวมอย่างสมดุลและต่อเนื่อง 6. เพื่อให้เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ที่วางไว้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 18 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 17 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองได้นำความรู้ที่ได้รับไปใช้ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ดีขึ้น
- สร้างสานสัมพันธ์เกิดความรักความอบอุ่นให้กับครอบครัว
- ลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ และได้รับการส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเด็กปฐมวัย
- เด็กปฐมวัยมีสุขภาพกาย - สุขภาพจิตที่ดีขึ้น
- เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวมอย่างสมดุลและต่อเนื่อง
- เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ที่วางไว้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ผู้ปกครองได้นำความรู้ที่ได้รับไปใช้ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ดีขึ้น 2. เพื่อสร้างสานสัมพันธ์ภายในครอบครัวให้เกิดความรักความอบอุ่น 3. เพื่อลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ และได้รับการส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเด็กปฐมวัย 4. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพกาย - สุขภาพจิตที่ดีขึ้น 5. เพื่อให้เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวมอย่างสมดุลและต่อเนื่อง 6. เพื่อให้เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ที่วางไว้ ตัวชี้วัด : 1. เด็กปฐมวัยร้อยละ ๘๐ ได้เข้าร่วมกิจกรรมและได้รับการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา 2. ผู้ปกครองร้อยละ ๘๐ มีความรู้ ทักษะในการส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา 3. เด็กปฐมวัยมีสุขภาพจิตที่ดี และดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 35 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 18 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 17 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ปกครองได้นำความรู้ที่ได้รับไปใช้ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ดีขึ้น 2. เพื่อสร้างสานสัมพันธ์ภายในครอบครัวให้เกิดความรักความอบอุ่น 3. เพื่อลดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ และได้รับการส่งเสริมพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเด็กปฐมวัย 4. เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพกาย - สุขภาพจิตที่ดีขึ้น 5. เพื่อให้เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อพัฒนาเด็กโดยองค์รวมอย่างสมดุลและต่อเนื่อง 6. เพื่อให้เด็กปฐมวัยเกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์ที่วางไว้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการหนูน้อยสุนทรี สุขภาพจิตดีสมวัย จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 67-L2997-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนูเรีย สิเดะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......