กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ การผลิตสื่อนวัตกรรมสร้างสรรค์จากกระป๋อง เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนพัฒนา ประจำปีการศึกษา 2567

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ การผลิตสื่อนวัตกรรมสร้างสรรค์จากกระป๋อง เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนพัฒนา ประจำปีการศึกษา 2567 ”
ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
น.ส.สุไหวบ๊ะ เกษมสัน




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ การผลิตสื่อนวัตกรรมสร้างสรรค์จากกระป๋อง เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนพัฒนา ประจำปีการศึกษา 2567

ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 3/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2566 ถึง

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ การผลิตสื่อนวัตกรรมสร้างสรรค์จากกระป๋อง เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนพัฒนา ประจำปีการศึกษา 2567 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ การผลิตสื่อนวัตกรรมสร้างสรรค์จากกระป๋อง เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนพัฒนา ประจำปีการศึกษา 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ การผลิตสื่อนวัตกรรมสร้างสรรค์จากกระป๋อง เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนพัฒนา ประจำปีการศึกษา 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2566 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันการผลิตนวัตกรรมจากสิ่งของเหลือใช้มากมายเพื่อการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาเด็ก ให้มีความต้องการในการเรียนรู้ที่หลากหลายและสามารถทำให้เด็กเรียนรู้และได้สัมผัสจริงจากการลงมือทำด้วยตนเอง เป็นแนวคิดด้านหนึ่งของการจัดการศึกษาปฐมวัย และการเรียนนั้นเราไม่จำเป็นต้องเรียนในห้องเรียนเสมอไปเด็กจะต้องได้รับประสบการณ์จริงบ้างและผู้ปกครองนักเรียนได้มีความคิดสร้างสรรค์ที่จะนำวัสดุเหลือใช้มาผลิตให้กับลูกๆของตนเอง ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนพัฒนาได้เห็นความสำคัญของเด็กในวัยนี้ การอบรมเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยมีความสำคัญอย่างมากเนื่องจากเด็กวัยนี้ต้องการเรียนรู้ ในสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง ๔ ด้าน ร่างการกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม สติปัญญาจากบิดา มารดา คนรอบข้างและสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะส่งผลให้เกิดพัฒนาการที่เป็นรากฐานของ บุคลิกภาพ อุปนิสัย และการเจริญเติบโต อย่างมีสติปัญญา ความสามารถ การอบรมปลูกฝังสร้างเสริมพัฒนาการทุกด้านให้แก่เด็กปฐมวัยได้เจริญเติบโตเต็มศักยภาพในช่วงอายุนี้ จะเป็นรากฐานที่ดีที่จะให้เขาเติบโตเป็นเยาวชนและพลเมืองที่ดี เฉลียวฉลาด คิดเป็น ทำเป็น และมีความสุข เด็กปฐมวัยจะมีชีวิตรอดและเติบโตได้ด้วยการพึ่งพาพ่อแม่ และผู้ใหญ่ช่วยเลี้ยงดู ปกป้องจากอันตราย หากผู้ใหญ่ให้ความรักเอาใจใส่ใกล้ชิด อบรมเลี้ยงดูโดยความเข้าใจ เด็กก็พร้อมจะตอบสนองความต้องการพื้นฐานที่เปลี่ยนไปตามวัยที่เหมาะสมให้สมดุลกันทั้งด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สติปัญญา และสังคมแล้ว เด็กจะเติบโตแข็งแรงแจ่มใส มีความพร้อมที่จะพัฒนาตนเองในขั้นต่อไป ให้เป็นคนเก่งคนดีอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานศึกษาที่ให้การเตรียมความพร้อมแก่เด็กปฐมวัย เด็กก่อนวัยเรียนเป็นเด็กที่อยู่ในช่วงอายุ 2 ถึง ๕ ปี เป็นวัยที่ถือว่า “วัยหัวเลี้ยวหัวต่อ” ที่มีการเปลี่ยนแปลงจากวัยทารก ก้าวสู่ความพร้อมในการที่จะเรียนรู้ สังคมที่กว้างออกไปจากครอบครัว เราจึงควรเข้าใจในพัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็ก เช่น ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสติปัญญา และด้านสังคม รวมทั้งการส่งเสริมพัฒนาการให้ถูกวิธี มีการจัดประสบการณ์ที่หลากหลายทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน อันจะช่วยให้เด็ก เกิดการเจริญเติบโต และมีพัฒนาการอย่างเหมาะสม เด็กตั้งแต่แรกเกิด 0-6 ปี เป็นช่วงสำคัญ สมองมีการเจริญเติบโตมากกว่าทุกๆ ช่วงอายุ และเป็นช่วงเวลาที่เหมาะสำหรับการปูพื้นฐานทักษะต่างๆ ให้เด็กได้พัฒนาการเรียนรู้ ซึ่งถือเป็น สิ่งสำคัญในการพัฒนาเด็กในวัยนี้เพื่อบุคคลากรที่ดีของประเทศในอนาคต ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนพัฒนา หมู่ที่ ๕ ได้เล็งเห็นความสำคัญของเด็กจึงได้จัด “โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ การผลิตสื่อนวัตกรรมสร้างสรรค์จากกระป๋องศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนพัฒนา ประจำปีการศึกษา 2567 เพื่อสร้างความสัมพันธ์กันระหว่างครู ผู้ปกครองและเด็กนักเรียน ได้เข้าใจไปในทิศทางเดียวกัน ในการผลิตสื่อกระป๋อง ที่ใช้ในการพัฒนาตนเองอยู่ตลอดเวลาทั้งตัวเด็กนักเรียนและผู้ปกครอง ร่วมถึงคุณครูที่พัฒนาตนเองตลอดเวลา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ทักษะในเรียนรู้จากวัสดุที่ผลิตขึ้นมาเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 37
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 37
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ทักษะในเรียนรู้จากวัสดุที่ผลิตขึ้นมาเอง
    ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ 70 เด็กนักเรียนมีความรู้ทักษะในเรียนรู้จากวัสดุที่ผลิตขึ้นมาเอง
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 74 74
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 37 37
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 37 37
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ทักษะในเรียนรู้จากวัสดุที่ผลิตขึ้นมาเอง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ การผลิตสื่อนวัตกรรมสร้างสรรค์จากกระป๋อง เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านควนพัฒนา ประจำปีการศึกษา 2567 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( น.ส.สุไหวบ๊ะ เกษมสัน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด