กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ตัวชี้วัด : ไม่พบสารปนเปื้อนร้อยละ ๖๐ ของจำนวนตัวอย่างที่ตรวจ

 

2 ผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องสุขาภิบาลอาหาร
ตัวชี้วัด : ผู้สัมผัสอาหารที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องสุขาภิบาลอาหารเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๘๐

 

3 อาสาสมัครแกนนำนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ตัวชี้วัด : อาสาสมัครแกนนำนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ หลังผ่านการอบรมเพิ่มขึ้นอย่างน้อย ร้อยละ ๘๐

 

4 แกนนำสุขภาพเทศบาลตำบลย่านตาขาวผ่านการทดสอบและได้รับเกียรติบัตรเป็น อสม.นักวิทย์
ตัวชี้วัด : แกนนำสุขภาพเทศบาลตำบลย่านตาขาวผ่านการทดสอบและได้รับเกียรติบัตรเป็น อสม.นักวิทย์ ร้อยละ ๕๐

 

5 เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)
31.12

 

6 เพื่อลดประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย
68.79

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและตรวจสอบความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (2) ผู้สัมผัสอาหารมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องสุขาภิบาลอาหาร (3) อาสาสมัครแกนนำนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องความปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (4) แกนนำสุขภาพเทศบาลตำบลย่านตาขาวผ่านการทดสอบและได้รับเกียรติบัตรเป็น อสม.นักวิทย์ (5) เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (6) เพื่อลดประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมแกนนำสุขภาพตำบล จำนวน 10 คน (2) กิจกรรมลงพื้นที่เก็บตัวอย่างอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพเพื่อตรวจสารปนเปื้อน อย่างน้อย 100 ตัวอย่าง (3) กิจกรรมรายงานผลการตรวจสารปนเปื้อนในอาหารแก่ผู้ประกอบการและหน่วยงานที่รับผิชอบทราบ เพื่อดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป (4) กิจกรรมอบรมอาสาสมัครแกนนำนักเรียนโรงเรียนอนุบาลเทศบาลตำบลย่านตาขาว (5) กิจกรรมอบรมผู้สัมผัสอาหารืเรื่องสุขาภิบาลอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh