กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง


“ โครงการ เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ”

ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางวรินทร์ทิพย์ คงพรม

ชื่อโครงการ โครงการ เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย

ที่อยู่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3323-1-04 เลขที่ข้อตกลง 6/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3323-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การทำเกษตรในทศวรรษหน้า ผลผลิตสำหรับผู้บริโภคจะเน้นคุณภาพเป็นหลัก หรืออาหารปลอดภัย (Food Safety) การค้าจะเน้นด้านคุณภาพของผลผลิตมากขึ้น การทำเกษตรด้วยระบบอินทรีย์จะเข้ามามีบทบาททดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีและการใช้สารเคมีทางการเกษตร ปัจจุบันการทำเกษตรของประเทศไทย มีการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีกำจัดศัตรูพืชจำนวนมาก ซึ่งมีราคาแพงขึ้นทุกปีตามภาวะราคาตลาดน้ำมันโลก สารเคมีที่ใช้มีการสะสมในดิน น้ำและผลผลิต เป็นอันตรายต่อผู้ผลิตและผู้บริโภค และผลผลิตที่เป็นสินค้าส่งออกมีโอกาสที่จะถูกประเทศคู่ค้าส่งคืนกลับ จึงมีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนระบบการผลิตใหม่ หันมาใช้สารอินทรีย์ทดแทนอย่างน้อยให้ปลอดภัยแก่ผู้บริโภค (อาหารปลอดสารพิษ) และพัฒนาไปสู่อาหารไร้สารพิษและเกษตรอินทรีย์ในที่สุด จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น
    ตำบลพนางตุง เป็นตำบลหนึ่งที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรมโดยมีพื้นที่ ที่ใช้ในการเกษตร ซึ่งประกอบไปด้วย การทำนาปี ทำสวนยางพารา พืชล้มลุกทางการเกษตรอีกหลายชนิด ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืชจึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง ยังอยู่ในระดับที่รุนแรง และสูง ในปีงบประมาณ 2566 ได้มีการเจาะหาสารเคมีในเลือดในกลุ่มเกษตรกรและ อสม.จำนวน 197 คน ด้วยกระดาษทดสอบโคลีนเอสเตอเรส พบว่า มีผลเลือด ปกติ11 คน คิดเป็นร้อยละ 5.58 ปลอดภัย 46 คน คิดเป็นร้อยละ 23.35 มีความเสี่ยง 77 คน คิดเป็นร้อยละ 39.09 และไม่ปลอดภัย 63 คิดเป็นร้อยละ 31.98 คน มีการศึกษาอันตรายจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างกว้างขวางและพบว่า สารเคมีกำจัดศัตรูพืชเหล่านี้สามารถถูกสะสมในร่างกายมนุษย์ได้เป็นเวลานาน ผ่านช่องทางต่างๆ ได้แก่การดูดซึมทางผิวหนัง ระบบทางเดินหายใจ และการรับประทานอาหารจากข้อมูลข้างต้นเป็นที่น่าเป็นห่วงทั้งเกษตรและผู้บริโภคที่มีความเสี่ยงจะได้รับอันตรายจากการปนเปื้อนสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในผลผลิตทางการเกษตร ในปีงบประมาณ 2567 ทาง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพนางตุงจึงจำเป็นที่จะต้องให้เกษตรกรและอสม.ที่มีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัยจาก ปี 2566 มีความรู้ ความเข้าใจ รู้จัก ผลิตและใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมี เกษตรสามารถใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรได้อย่างยั่งยืน และเจาะเลือดเพื่อหาสารเคมีในเลือด เพื่อเฝ้าระวังและรักษาต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเฝ้าระวังสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร
  2. 2.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิก การใช้สารเคมีของเกษตรกร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด
  2. ตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 140
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

6.1 เกษตรกร/อสม.ใช้สารเคมีลดลง ร้อยละ 50
6.2. ผลการเจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร/อสม. “ปกติ”เพิ่มขึ้น ร้อยละ 50


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเฝ้าระวังสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร
ตัวชี้วัด : 1.เกษตรกร/อสม.ได้รับการตรวจสารเคมีในเลือดร้อยละ 90

 

2 2.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิก การใช้สารเคมีของเกษตรกร
ตัวชี้วัด : 2.เกษตรกร/อสม.มีความรู้และเข้าใจเรื่องการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องถูกวิธี ร้อยละ100

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 140
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเฝ้าระวังสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร (2) 2.เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลด ละ เลิก การใช้สารเคมีของเกษตรกร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด (2) ตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3323-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวรินทร์ทิพย์ คงพรม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด