กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขากอบ


“ โครงการคัดกรองและประเมินมะเร็งลำไส้ประชาชนในพื้นที่ รพสต.บ้านหนองปรือ ต.เขากอบ ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางปาริฉัตร น้อยนาฎ

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองและประเมินมะเร็งลำไส้ประชาชนในพื้นที่ รพสต.บ้านหนองปรือ ต.เขากอบ ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1526-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองและประเมินมะเร็งลำไส้ประชาชนในพื้นที่ รพสต.บ้านหนองปรือ ต.เขากอบ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขากอบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองและประเมินมะเร็งลำไส้ประชาชนในพื้นที่ รพสต.บ้านหนองปรือ ต.เขากอบ ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองและประเมินมะเร็งลำไส้ประชาชนในพื้นที่ รพสต.บ้านหนองปรือ ต.เขากอบ ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขากอบ อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1526-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,391.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขากอบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งลำไส้ใหญ่เป็นมะเร็งที่พบบ่อยในประเทศไทย มีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ มะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะเริ่มแรกจะเติบโตช้า ทำให้ไม่มีอาการ แต่พอมะเร็งมีขนาดใหญ่ขึ้น หรือลุกลามออกไปนอกลำไส้ใหญ่ จึงจะแสดงอาการ ดังนั้นกว่าจะตรวจวินิจฉัยได้ส่วนใหญ่ก็เป็นระยะท้ายไปเสียแล้ว สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ เปิดเผยว่า ประเทศไทยพบคนไข้เสียชีวิตจากมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงเฉลี่ยวันละ 15 คน หรือปีละ 5,476 คน และมีผู้ป่วยใหม่ปีละกว่า 15,000 คน พร้อมแนะวิธีดูแลร่างกายให้ห่างไกลจากมะเร็ง สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ จึงออกมาแนะนำเกี่ยวกับมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงเป็นมะเร็งที่พบบ่อยในคนไทย ปัจจุบันมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงในประเทศไทยพบมากเป็นอันดับ 3 ในเพศชาย และอันดับสองในเพศหญิง (จากสถิติของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ) ที่น่ากังวลคืออัตราการเกิดโรคมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยทุกๆ วันมีคนไข้เสียชีวิตจากโรคร้ายนี้เฉลี่ยวันละ 15 คน หรือปีละ 5,476 คน และมีผู้ป่วยรายใหม่วันละ 44 คน หรือปีละ 15,939 คน ทั้งนี้ มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงมีสาเหตุการเกิดโรคที่หลากหลาย แต่ปัจจัยหนึ่งที่สำคัญในปัจจุบันคือการรับประทานอาหาร โดยเฉพาะอาหารกลุ่มเนื้อแดง ได้แก่ เนื้อวัว เนื้อหมูที่ผ่านการแปรรูป หรือปรุงด้วยความร้อนสูงเป็นเวลานานเช่นการปิ้งย่างจนไหม้เกรียม และมีมันสูง รับประทานอาหารกากใยน้อย การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ นอกจากนี้มะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงยังเกิดในคนที่เป็นกลุ่มเสี่ยงจากการมีประวัติครอบครัวเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรง คนที่เคยตรวจพบติ่งเนื้อในลำไส้ใหญ่แบบอะดีโนมา หรือทำการรักษาโรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง ปัจจุบันตรวจคัดกรองด้วยวิธีการตรวจหาเลือดแฝงในอุจจาระ (Fecal Immunochemical Test: FIT) เป็นวิธีการตรวจที่สะดวก ง่ายและปลอดภัย ประชาชนอายุ 50-70 ปี สามารถรับอุปกรณ์และน้ำยาเก็บตัวอย่างได้ที่สถานพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อนำไปเก็บอุจจาระด้วยตนเองที่บ้าน แล้วนำส่งเจ้าหน้าที่เพื่อทำการวิเคราะห์ผล กรณีที่ได้รับผลผิดปกติผู้ป่วยจะได้รับการตรวจวินิจฉัยต่อด้วยการส่องกล้องลำไส้ใหญ่เพิ่มเติม ส่วนในกลุ่มที่มีอาการผิดปกติ อาทิ ระบบขับถ่ายแปรปรวนเช่นท้องผูกสลับท้องเสีย ถ่ายเป็นมูกเลือด เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซีดเรื้อรัง ควรรีบเข้ารับคำปรึกษาจากแพทย์เพื่อรับการวินิจฉัยเพิ่มเติม ปี 2565 มีประชาชนอายุ 50-70 ปี จำนวน 863 คน ได้รับการจัดสรรชุดตรวจเลือดแฝงในอุจจาระ (Fecal Immunochemical Test: FIT) จากเครือข่ายบริการสุขภาพ จำนวน 88 ชุดหรือร้อยละ 10.20 ของกลุ่มเป้าหมาย พบผลตรวจเป็นลบ จำนวน 83 ราย ร้อยละ 94.32 และผลเป็นบวกส่งต่อเข้ารับการรักษาจำนวน 5 ราย ร้อยละ 5.68 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองปรือ จึงได้จัดทำโครงการโครงการคัดกรองและประเมินมะเร็งลำไส้ประชาชนในพื้นที่รพ.สต.บ้านหนองปรือ ต.เขากอบ ปีงบประมาณ 2567 เพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการให้บริการและประเมินปัจจัยเสี่ยงมะเร็งลำไส้ และเพื่อประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองและประเมินมะเร็งลำไส้ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการให้บริการและประเมินปัจจัยเสี่ยงมะเร็งลำไส้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนอายุ 50-70 ปีในพื้นที่รับผอดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองปรือ ต.เขากอบ อ.ห้วยยอด จ.ตรัง ได้รับการให้บริการและประเมินปัจจัยเสี่ยงมะเร็งลำไส้ และได้รับการส่งต่อเมื่อพบปัจจัยเสี่ยง
  2. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านได้รับการพัฒนาศักยภาพ ในการให้บริการและประเมินปัจจัยเสี่ยงมะเร็งลำไส้ พร้อมให้บริการประชาชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการให้บริการและประเมินปัจจัยเสี่ยงมะเร็งลำไส้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองและประเมินมะเร็งลำไส้ประชาชนในพื้นที่ รพสต.บ้านหนองปรือ ต.เขากอบ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1526-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปาริฉัตร น้อยนาฎ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด