โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้สมุนไพรไทยอย่างมีคุณค่า
ชื่อโครงการ | โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การใช้สมุนไพรไทยอย่างมีคุณค่า |
รหัสโครงการ | 67-L2482-1-10 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา |
วันที่อนุมัติ | 26 ธันวาคม 2566 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 2 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 4 ตุลาคม 2567 |
งบประมาณ | 15,931.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.175,102.052place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 2 ม.ค. 2567 | 30 ก.ย. 2567 | 15,931.00 | |||
รวมงบประมาณ | 15,931.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ เป็นหนึ่งในภูมิปัญญาไทยทีีสืบทอดกันมา ซึ่งมีหลักฐานทางประวัติสาสาตร์ ที่ระบุถึงการใช้พืชพรรณสมุนไพรตั้งแต่สมัยพุทธกาล การนำสมุนไพรใช้ำด้ทั้งแง่การนำมารับประทานอาหาร เช่น การรับประทานพืชผัก หรือนำมาประกอบเป็นอาหาร นอกจากนั้นยังนำมาใช้เป็นยารักษาโรคเวลาเกิดอาการเจ็บป่วย ในท้องถิ่นชุมชน บ้านโคกมือบามีสมุนไพรหลายชนิด ที่สามารถใช้ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นได้ และสามารถนำมาประกอบเป็นอาชีพเสริม โดยขั้นตอนกระบวนการผลิตที่ไม่ยุ่งยาก วัตถุดิบหาได้ง่าย ยาดมสมุนไพรเป็นที่ชุมชนนิยมหาซื้อใช้บ่อย ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถผลิตได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา จึงได้จัดทำโครงการอบรมการใช้สมุนไพรไทยสาธิตการทำยาดมสมุนไพรไทยขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ เห็นคุณค่าของสมุนไพรที่มีใช้ใรครัวเรือนและประโยชน์ทางยาของสมุนไพรต่างๆ มาประยุกต์ใช้ ส่งเสริม อนุรักษ์ และสืบสานภูมิปัญญาไทยต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการใช้สมุนไพรและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 2.เพื่อเป้นการส่งเสริมอนุรักษ์ และสืบสานภูมิปัญญาไทย 1.ร้อยละ 100 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจการใช้สมุนไพรไทย 2.ร้อยละ 100 กลุ่มเป้าหมายสามารถทำยาดมสมุนไพรใช้เองได้ |
100.00 |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | ม.ค. 67 | ก.พ. 67 | มี.ค. 67 | เม.ย. 67 | พ.ค. 67 | มิ.ย. 67 | ก.ค. 67 | ส.ค. 67 | ก.ย. 67 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | โครงการ อบรมเชิงปฎิบัติการการใช้สมุนไพรไทยอย่างมีคุณค่า(2 ม.ค. 2567-30 ก.ย. 2567) | 15,931.00 | |||||||||
รวม | 15,931.00 |
1 โครงการ อบรมเชิงปฎิบัติการการใช้สมุนไพรไทยอย่างมีคุณค่า | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 100 | 15,931.00 | 0 | 0.00 | 15,931.00 | |
6 ส.ค. 67 | อบรมเชิงปฎิบัติการการใช้สมุนไพรไทยอย่างมีคุณค่า | 100 | 15,931.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 100 | 15,931.00 | 0 | 0.00 | 15,931.00 |
1.ประชุมชี้แจงผุ้มีส่วนร่วมเกี่ยวข้องในพื้นที่เพื่อรับทราบนโยบายวัตถุประสงค์ของโครงการ 2.จัดทำแผนงานโครงการเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโฆษิต 3.จัดการประชาสัมพันธ์ให้กลุ่ม อสม. ทราบเพื่อเตรียมกลุ่มเป้าหมาย และนัด วัน เวลา และสถานที่ในการตรวจ 4.อบรมให้ความรู้เรื่องการทำยาดมสมุนไพร 5.จัดเตรียม อุปกรณ์สำหรับการทำยาดมสมุนไพร และดำเนินการปฎิบัติ
1.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการใช้สมุนไพรและประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2.ประชาชนเป็นแกนนำ ส่งเสริมอนุรักษ์การใช้ยาสมุนไพรยาดม และสืบสานภูมิปัญญาไทยในชุมชน 3.ประชาชนสามารถนำมาประกอบเป็นอาชีพเสริมได้ของครัวเรือนได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ธ.ค. 2566 10:58 น.