โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ ประจำปี 2567
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ ประจำปี 2567 |
รหัสโครงการ | 67-L2482-1-12 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกมือบา |
วันที่อนุมัติ | 26 ธันวาคม 2566 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 2 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 6,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.175,102.052place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 2 ม.ค. 2567 | 30 ก.ย. 2567 | 6,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 6,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
นโยบายกระทรวงสาธารณศุขและจุดเน้นประเด็น smart kids ของสนักงานสาธารณสุขจังหวัดในกลุ่มปฐมวัย 0-5 ปี เด็กวัยก่อนเรียนเป้นวัยที่อยู่ในระสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของการพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โยเฉพาะในระยะ 2 ปแี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับกรเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนเรียน ปัญหาทาโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหารภาวะโภชนาการเกินการขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสารสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง ปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการของเด็ก เช่น สิ่งแวดล้อม การเลี่ยงโดยการสร้างเสริมกิจกรรมกับเด็กผ่านการเล่น เป็นการส่งเสริมการพัฒนาเด็กที่สำคัญ รวมถึงการติดตามพัฒนาการด้านการเจริญ เติบโตทางด้านร่างกาย เช่น รูปร่าง น้ำหนัก ส่วนสูง ของเด็กให้เหมาะสมตามวัย และที่สำคัญควรพาเด็กไปรับบริการตรวจสุขภาพ และรับวัคซีนอย่างต่อเนื่อง เพื่อติดตามดูการเจริญเติบโต และพัฒนาการของเด็กสิ่งต่างๆ เหล่านี้จะส่งผลให้เด็กเติบโตขึ้นอย่างมีความสุขและคุณภาพ การประเมินผลการเฝ้าระวังทาง ภาวะโภชนาการเด็กอายุแรกเกิน - 72 เดือนอยู่ที่ในหมู่บ้าน พบว่าในพื้นที่เขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านโคกมือบาในไตรมาสที่ 4-2566 เด็กทั้งหมด 391คน พบว่าน้ำหักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 6.14 น้ำหชนักค่อนข้างน้อย 43 คน คิดเป็นร้อยละ 11 ซึ่งตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุขกำหนดเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 7 และในอนาคตมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จากการที่เด็กน้ำหนักน้อยกว่า ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญาของเด็กและหากปัญหาเด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ไม่ได้รับการแก้ไขจะส่งผลต่อประเทศชาติ ทำให้ประเทศชาติไม่มีการพัฒนา เพราะเด็กเป็นอนาคตของชาติทีสำคัญ ถ้ามีการแก้ไขปัญหาที่ดีทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า ก็จะหมดไปสำหรับผู้ปกครองเด็กอายุแรกเกิิด- 72 เดือน ในเขตรับผิดชอบ รพ0สต.บ้านโคกมือบา ส่วนใหญ่ไม่ให้ความสำคัญในการส่งเสริมการเจริญเติบโต ทางด้านร่างกาย และพัฒนาการด้านต่างๆ ปล่อยให้พัฒนาการของเด็ก เป็นไปตามธรรมชาติเป็นไปตามพันธุกรรมที่ได้รับจาก พ่อแม่ ขาดการกระตุ้น และการส่งเสริมที่ถูกต้องตามหลักการเลี้ยงดูเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโ๕กมือบา ได้ดำเนินการดูแลเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ในด้านต่างๆ โดยเริ่มตั้งแต่ การฝากครรภ์ การส่งเสริมการเลี้ยงดูด้วยนมแม่ การติดตามการเจริญเติบโตด้านรา่งกาย การดูแล ด้านสุขภาพช่องปาก การบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค สิ่งเหล่านี้ล้วนส่งเสริม พัฒนาการของเด็ก เพื่อการตอบสนองนโยบายในการพัฒนาส่งเสริมคุณภาพเด็กวัยแรกเกิด - 72 เดือน ทาง รพ.สต.บ้านโคกมือบา ได้ให้ความสำคัญ และจัดทำโครงการนี้ขึ้นมา
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้เด็กแรกเกืด - 72 เดือน ที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ น้ำหนักค่อนข้างน้อย และเด็กเตี้ยมีภาวะโภชนาการดีขึ้น 2.เพื่อให้เด็กมีภาวะทุพโภชนาการ มีพัฒนาการสมวัย 3.เพื่อให้ผู้เลี้ยงดูเด็กมีความรู้ด้านโภชนาการ และอาหารที่เหมาะสมตามวัย 1.เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 7 น้ำหนักค่อนข้างน้อย ไม่เกินร้อยละ 7 และเด็กเตี้ยไม่เกินร้อยละ 7 |
40.00 |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | ม.ค. 67 | ก.พ. 67 | มี.ค. 67 | เม.ย. 67 | พ.ค. 67 | มิ.ย. 67 | ก.ค. 67 | ส.ค. 67 | ก.ย. 67 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กที่มีภาวะทุพโภชนการ ปี 2567(2 ม.ค. 2567-30 ก.ย. 2567) | 6,000.00 | |||||||||
รวม | 6,000.00 |
1 โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กที่มีภาวะทุพโภชนการ ปี 2567 | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 40 | 6,000.00 | 0 | 0.00 | 6,000.00 | |
23 ก.ค. 67 | โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กที่มีภาวะทุพโภชนการ ปี 2567 | 40 | 6,000.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 40 | 6,000.00 | 0 | 0.00 | 6,000.00 |
1.ประชุมชี้แจง อสม. และแกนนำหมู่บ้านเพื่อวางแผนการทำงานร่าวมกัน 2.จัดทำแผนงานโครงการเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโฆษิต 3.จัดทำโครงการเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโฆษิต 4.ให้ความรู้ผู้ปกครองเด็กที่มีปัญหาภาวะโทพโภชนาการ 5.สาธิตการทำอาหารสำหรับเด็กที่มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน เน้นวัตถุดิบที่มีในชุมชน 6.สรุปโครงการ
1.เด็กแรกเกิด - 72 เดือน ที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ น้ำหนักค่อนข้างน้อย และเด็กมีภาวะโภชนาการดีขึ้น 2.เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ มีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 3.ผู้เลี้ยงดูเด็กมีความรู้ด้านโภชนาการ และอาหารที่เหมาะสมตามวัย
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ธ.ค. 2566 11:08 น.