โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัย ประจำปีงบประมาณ 2567
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปฐมวัย ประจำปีงบประมาณ 2567 |
รหัสโครงการ | 67-L2482-3-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดตักวา |
วันที่อนุมัติ | 26 ธันวาคม 2566 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2567 - 30 เมษายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 4 ตุลาคม 2567 |
งบประมาณ | 12,400.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวปาตีเม๊าะ สาเม๊าะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.175,102.052place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ม.ค. 2567 | 30 ก.ย. 2567 | 12,400.00 | |||
รวมงบประมาณ | 12,400.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 60 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัญหาของเด็กปฐมวัยประกอบด้วยปัญหาทั้งด้านสุขภาพและความปลอดภัย มีสาเหตุจากตัวเด็กเอง และสภาพแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยในการเลี้ยงดูและพัฒนาการของเด็กแต่ละคน ปัญหาอาจเกิดขึ้นกับเด็กได้ทั้งที่บ้านและศูนย์ ผู้ปกครอง และครูจึงต้องรู้เท่าทันภูมิหลังด้านสุขภาพของเด็กและมีความรอบคอบในการเตรียมรับมือกรณีที่เกิดปัญหาด้านสุขภาพและปลอดภัยของเด็กแต่ละคน โดยเฉพาะการะมัดระวังการแพร่เชื่อจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่ง หรือการเตรียมซักซ้อมก่อนเกิดอุบัติเหตุภัยเพื่อสามารถแก้ไข้ปัญหาได้ทัน และเกิดความปลอดภัยแกเด้กมากท่่สุด อาจกล่าวได้ว่าสุขภาพและความปลอกภัย เมื่อนำมาพิจารณากันแลว ย่อมหมายถึงทั้งชีวิตของเด็ก ปัญหาสุขภาพและความปลอดภัยของเด็กเกิดขึ้นได้จากหลานาเตุซึ่งจำแนกออกได้เป็น 2 ประเภท คือสารเตุอันเกิดจากปัจัยภายใน และจากปัจจัยภายนอก วึ่งมักจะเกิดสาเหตุ ดังต่อไปนี้ 1สาเหตุจากปัจจัยใน ซึ่งเกิดขึ้นจากความผิดปกติในตัวเด็กเอง โดยปัญหาของเด็กมักเกิดสาเหตุดังต่อไปนี้ -เด็กมีภูมิคุ้มกันโรคต่ำ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นเพราะระบบภูมิคุ้มกันของเด็กยังไม่พอพัฒนาโดยสมบูรณ์ นอกจากนี้ อาจเกิดจากความผิดปกติทางร่างกายของเด็ก -โรคภูมิแพ้ประเภทต่างๆ เช้น แพ้อาหาร แพ้ยา แพ้สัตว์ปีก ซึ่งทำให้เด็กต้องได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วนบางกรณี 2.สาเหตุปัจจัยภายนอน สำหรับปัจจัยภายนอก สิ่งแวดล้อมมีส่วนสำคัญอย่างต่อสุขภาพและปลอดภัยของเด็กซึ่งปัญหาที่เกิดกับเด็กส่วนใหญ่ มักเกิดกับเด็กส่วนใหญ่ มักเกิดกับเด้กส่นใหญ่ มักเกิดจากสาเหตุดังต่อไปนี้ -การติดเชื้อ ส่วนไหญ่เกิดจากสิ่งมีชีวิตจำพวกแบคทีเรียหรือไวรัส ซึ่งสามารถแพร่จากคนสู่คนได้อย่างง่ายดายผ่านการสัมผัส (Cross infection) -การเลี้ยงดูจากผู้ปกครอง ตั้งแต่หลังคลอด ซึ่งครอบคลุมทั้งเรื่องอาหารการกิน ไปจนถึงการดูแลเรื่องความปลอดภัยในชีวิตประจำวัน -เด็กขาดประสบการณ์หรือรู้เท่าไม่ถึงการณ์ -อุบัติเหตุประภทต่างๆ วึ่งอาจเกิดการหกล้มเพียกเล็กน้อย หรืออาจรุนแรงที่อาจนำไปสู่การสูญเสียอวัยวะ หรือเสียชีวิต ดังนั้น หากเกิดปัญหาขึ้นกับสุขภาพและความปลอดภัย ย่อมเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน หรือการเรียนรู้ต่างๆ รอบตัว นอกจากนี้ยังขัดขวางต่อการพัฒนาของเด้กในทุกๆด้านอีรกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็กปฐมวัย ปัญหาที่เกิดกับสุขภาพและความปลอดภัยของเด็ก ยังรวมถึงการผิดปกติที่อาจติดตัวเด็กตลอดชีวิต อาทิเช่น เด็กที่เป็นโรคขาสารอาหาร มีกมีอัตราการเสียชีวิตทีสูงหรืออาจมีร่างกายแคระแกรน ไม่เจริญเติบโต และมีพัฒนาการที่ไม่สมวัย การช่วยเหลือป้องกันปัญหาสุขภาพและความปลอดภัยในตัวเด็กย่อมมีควา่มสำคัญต่อชีวิตและอนาคตเด็ก ละที่สำคัญครอบครัวของเด็กต้องเข้ามามีบทบาทและส่วนสำคัญในการดูแลให้เด็กทุกคนได้กินดีอยูาดี ที่มีอยู่ ที่หลับนอนปลอดภัย แต่ความเป็นจริงแล้วยังมีหลายครอบครัวที่รายได้ไม่เพียงพอจุนเจือสมาชิกใหม่ในครอบครัว ผุ้ปกครองมีการศึกษาน้อย หรือมีถิ่นที่อยู่อาศัยในสภาพแวดล้อมที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัยของเด็กครอบครัวเหล่านี้จึงมีข้อจำกัดในการเลี้ยงดูเด็กให้เติบโตขึ้นมาอย่างเหมาะสมทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ยื่งไปกว่านั้นเมื่อเด็กโตขึ้นนอกจากปัญหาสุขภาพแล้ว พวกเขาเหล่านั้นยังอาจถ่ายทอดการเลี้ยงดูในแบบที่ตนเองได้รับสู่ลูกหลานเป็นวงจรที่สร้างปัญหาสุขภาพและความปลอดภัยอย่างไม่สิ้นสุดและไม่อาจรัลการแก้ไขได้ จนกว่าชีวิตความเป็นอยุ่ของครอบครัวดเหล่านั้นจะดีขึ้น ด้วยเหตุนั้นศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดตักวา สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลโฆษิต จึงต้องมุ่งเน้นให้ถึงความสำคัญในการส่งเสริมการออกกำลังกาย และการดูแลสุขภาพของเด็ก รวมทั้ง ดำเนินการเตรียมความพร้อม ตามมาตราการการป้องกันควบคุมโรคมือ เท้า ปาก อย่างเข้มข้น ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดตักวาและชุมชน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยเด็กปบมวัยศูนญ์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ประจำมัสยิดจักวา ประจำปีงบประมาณ 2567 ขึ้นเพื่อส่งเสริมสุขภาพ และสร้างการมีส่วนร่วมของเด็กปฐมวัย ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง ผู้ประกอบอาหารและผู้ที่เกี่ยวข้องได้ทราบถึงความสำคัญของสุขภาพอนามัย และการรู้จักการดูแลสุขภาพร่างกายได้ด้วยตนเอง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ครูผุ้ดูแลเด็ก ผุ้ประกอบอาหาร และผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจหลักในการดูแลสุขภาพและสุขอนามัยของเด็กปฐมวัยที่ดี 2.เพื่อลดอัตราการป่วยจากโรคติดต่อจากการติดเชื้อจากคนสู่คนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 3.เพื่อให้เด็กปฐมวัยรู้จักวิธีการออกกำลังกายอย่างง่ายๆ โดยการเล่นกีฬาตามความเหมาะสมและส่งเสริมพัฒนาการแห่งวัยของเด็ก
|
60.00 |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.เตรียมความพร้อมของผุ้ดำเนินการ -จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานให้ผุ้เกี่ยวข้องทราบ -เขียนโครงการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต. โฆษิต 2.เตรียมข้อมูล ความรู้ เกี่ยวกับสุขอนามัย เผยแพร่ให้กับผู้ปกครอง 3.จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม ตามโครงการ 4.จัดกิจกรรม
1.เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรงมีพัฒนาการทุกด้านตามวัย 2.ผุ้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีแนวทางปฏิบัติในการดูแลเด็กปฐมวัยให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี 3.ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ประกอบอาหาร และผุ้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจหลักการดูแลสุขภาพและสุขอนามัยเด็กปฐมวัยที่ดี
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ธ.ค. 2566 13:49 น.