โครงการส่งเสริมสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุบ้านปลักปลา ประจำปี 2567
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุบ้านปลักปลา ประจำปี 2567 |
รหัสโครงการ | 67-L2482-3-04 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมผู้สูงอายุบ้านปลักปลา |
วันที่อนุมัติ | 26 ธันวาคม 2566 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 4 ตุลาคม 2567 |
งบประมาณ | 26,270.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายเจ๊ะอาแว กรีติง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.175,102.052place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 มี.ค. 2567 | 30 ก.ย. 2567 | 26,270.00 | |||
รวมงบประมาณ | 26,270.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 70 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ผู้สูงอายุถือได้เป็นทรัพยากรของชาติที่มีคุรค่าคนควรให้ความรักเคารพ และดูแลเอาใจใส่เนิ่องจากเป็นผู้ที่สนร้างประโยชน์แก่ประเทศชาติมาก่อน สามารถถ่อายทอดความรู้ ประสบการณ์ และวัฒนธรรมอันดีไปสู่ลูกหลาน แต่ปัจจุบันผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งจากบุตรหลานมากขึ้นทำกิจวัตรและดูแลตัวเองในเรื่องของความเป็นอยู่ในชีวิตประจำวันมากขึ้น ซึ่งผู้สูงอายุควรต้องได้รับความรู้ในเรื่อง การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ การออกกำลังกาย การดูแลสุขภาพปากและฟัน การป้องกันอุบัติเหตุเหล่านี้เป็นต้น เพื่อที่จะสามรรถดูแลสุขภาพร่างกายของตัวเองได้ทำให้เกิดปัญหาได้น้อยทีี่สุดและส่งผลให้จิตใจสดชื่น แจ่มใส ช่วยให้คนรอบข้างหรือครอบครัวทั้งสังคมมีความสุขด้วยและครอบครัวเป็นสถาบันที่เล็กที่สุดแต่มีความสำคัญที่สุด ถ้าครอบครัวให้ความสำคัญและเล็งเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุด้วยแล้วครอบครัวและสังคมไทยจะมีความสุข และทุกคนมีสุขภาพจิตที่ดีส่งผลให้ร่างกายดีตามมาเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและส่งเสริมสถาบันครอบครัวดังกล่าว ดังนั้นทางกลุ่มสมาชิกผู้สูงอายุ หมู่ 5 บ้านปลักปลา ตำบลโฆษิต โครงการนี้ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมคุฯภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้สามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่เป็นภาระแก่ลูกหลานได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุบ้านปลักปลา ประจำปี 2567 ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการดูแลตนเองตามรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอย่างต่อเนื่อง 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการพบปะสังสรรค์และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการปฏิบัติตนตามหลัก 3อ 2ส และสามารถนำไปเผยแพร่ต่อภายในชุมชนได้ 1.ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเองตามรูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวได้อย่างต่อเนื่อง 2.ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรมเพิ่มมากขึ้น |
70.00 |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | มี.ค. 67 | เม.ย. 67 | พ.ค. 67 | มิ.ย. 67 | ก.ค. 67 | ส.ค. 67 | ก.ย. 67 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | โครงการส่งเสริมสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุบ้านปลักปลา(1 มี.ค. 2567-30 ก.ย. 2567) | 0.00 | |||||||
รวม | 0.00 |
1 โครงการส่งเสริมสุขภาพสมาชิกชมรมผู้สูงอายุบ้านปลักปลา | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.ประชุมเพื่อจัดทำแผนการดำเนินงานร่วมกันในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 2.จัดทำโครงการเพื่อเสนิขอพิจารณาอนุมัติ 3.สำรวจกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ และ จำแหนกประเภท โดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน 4.จัดกิจกรรมสันทนาการ มีการพบปะสังสรรค์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลัก 6 อ. 1 เดือน/ครั้ง 5.กิจกรรมให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพ หลัก 6 อ. แก่กลุ่มเป้าหมาย มีเนื้อหาดังนี้ -การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -อาหาร,การดูแลเรื่องสุขภาพในช่องปาก -การฝึกทักษะออกกำลังกายด้วยวิธีต่างๆที่ถูกต้อง เช่น การยืดเหยียด ฯลฯ -การจัดการกับอารมณ์ การจัดการกับความเครียด การเข้าหาธรรมะหรือศาสนา -อนามัยสิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อมในบ้านที่ดีเอื้อต่อการมีสุขภาพผู้สูงอายุ -อบายมุข การละลดเลิกบุหรี่ และแอลกอฮอล์ 6.ตรวจประเมินภาวะสุขภาพปผู้สูงอายุ ได้แก่ ชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต ตรวจฟัน ประเมินสุขภาพกาย และจิตใจ โดยบุคลากรสาธารณสุข อสม.และกลุ่มจิตอาสาดูแลผู้สูงอายุ 7.เยี่ยมผู้สูงอายุที่มีปัญหาด้านสุขภาพอย่างน้อยคนละ 1 ครั้ง 8.สรุปและประเมินผลการดำเนินงานทุกเดือน
1.มีการดูแลผู้สูงอายุแบบบูรนาการร่วมระหว่างงานที่เกี่ยวข้อง ผู้สูงอายุ และครอบครัว 2.ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมและเพิ่มคุณค่าของผู้สูงอายุที่มีศักยภาพในการดูแลตนเองร่วมกับครอบครัว มากยิ่งขึ้น 3.มีชมรมผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมต่อเนื่อง มรการเชื่อมประสานกับเครือและหน่วยงานราชการ ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในกรรดูแลผู้สูงอายุทั้งด้านสุขภาพ จิต สังคมและจิตวิญญาณ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ธ.ค. 2566 13:56 น.