โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2567
ชื่อโครงการ | โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2567 |
รหัสโครงการ | 67-L2482-5-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อาสาสมัครสาธารณสุขตำบลโฆษิต |
วันที่อนุมัติ | 26 ธันวาคม 2566 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 4 ตุลาคม 2567 |
งบประมาณ | 35,870.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวซีตียูวารีเย๊าะ ดือรามะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.175,102.052place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ม.ค. 2567 | 30 ก.ย. 2567 | 35,870.00 | |||
รวมงบประมาณ | 35,870.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณาสุขที่สำคัญของประเทศมานานแล้ว โดยมียุงลายเป็นพาหะ เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี และพบว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมากที่สุด ได้แก่ กลุ่มเด็กวัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่ 5 - 14 ปี แต่ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปีอีกด้วย การดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกให้ประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้น จำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคและรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออกและร่วมมือกันเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคนี้ ตำบลโฆษิตพบผุ้่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในปี 2566 จำนวนทั้งสิ้น 52 คน โดยมีจำนวนมากกว่าปีที่ผ่านมาและกระจ่ายไปหลายชุมชน เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก รวมทั้งเป็นการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายรวมถึงกำจัดยุงลายที่พาหนะนำโรคไข้เลือดออกในครัวเรือน หมู่บ้าน วัน โรงเรียน อย่างต่อเนื่อง กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลโฆษิต จึงได้จัดทำโครงการควบคุมป้องกันโรค ไข้เลือดออก ประจำปี พ.ศ. 2567 ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อเป็นการควบคุม ป้องกันเกิดโรคที่มียุงเป็นพาหะในเขตตำบลโฆษิต 2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันไข้เลือดออก 1.จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในตำบลโฆษิตลดน้อยลงเมือเทียบกับจำนวนผู้ป่วยในปี 2566 2.ประชาชนทุกเพศทุกวัยมีความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วมในกานป้องกันไข้เลือดออก |
50.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
1.จัดอบรมให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขและผู้นำชุมชน 2.จัดกิจกรรมเดินรนณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่ หมู่ที่ 1 - 5 พร้อมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แกประชาชน 3.เตรียมวัสดุเชื้อเพลิง น้ำมันหล่อลื่น สรเคมีและอุกรณ์ในการฉีดพ่นสารเคมี 4.จ้างเหมาบริการฉีดพ่นละอองฝอยกำจัดลูกน้ำยุงลายทุกหมู่บ้าน รวมทั้งสถานที่สาธารณะต่างๆ (ขอสนับสนุเครื่องฉีดพ่นละอองฝอยจากองค์กรบริหารส่วนตำบลโฆษิต) ดำเนินการควบคุมโรคกรณีพบผู้ป่วย รัศมี 100 เมตร 6.ติดตามและสรุปผลโครงการ
1.สามารถควบคุมและป้องกันการเกิดโรคที่มียุงเป็นพาหะได้ 2.อาสาสมัครสาธารณสุข ผู้นำชุมชน และชาชนได้รับความรู้ เกิดความตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก 3.กรณีพบผู้ป่วยแล้ว สามารถย้ายการแพร่กระจ่ายของโรคไม่ให้ขยายวงกว้างออกไป 4.จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกมีจำนวนลดลงเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 27 ธ.ค. 2566 14:07 น.