กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วย และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ของหมู่ที่ 7 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง


“ โครงการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วย และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ของหมู่ที่ 7 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ”

ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางเกษมสุข ไชยผล

ชื่อโครงการ โครงการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วย และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ของหมู่ที่ 7 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567

ที่อยู่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3323-2-07 เลขที่ข้อตกลง 25/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วย และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ของหมู่ที่ 7 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วย และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ของหมู่ที่ 7 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วย และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ของหมู่ที่ 7 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3323-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้สภาพปัญหาทางสุขภาพเปลี่ยนไปด้วย ปัจจุบันแนวโน้มปัญหาสุขภาพที่เพิ่มสูงขึ้นจากสาเหตุโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเหล่านี้เป็นปัญหาที่สำคัญระดับประเทศและระดับโลก ซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นสถานการณ์โรคไม่ติดต่อมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคที่เป็นปัญหาอันดับสองของจังหวัดพัทลุง รองจากปัญหาโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงเป็นภาวะความดันเลือดภายในหลอดเลือดแดงสูงกว่าปกติตลอดเวลา โรคความดันสูงแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ชนิดที่ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด ซึ่งไม่สามารถระบุถึงต้นเหตุการณ์เกิดได้ แต่อาจจะเป็นเพราะปัจจัย อายุ: อายุมากขึ้นจะมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูงมากขึ้น มีประวัติครอบครัวเป็นโรคความดันโลหิตสูง: โรคนี้มีโอกาสพบได้ในคนในครอบครัวเดียวกัน รับประทานอาหารที่มีไขมันสูงเป็นประจำ รับประทานเกลือ มีเกลือในอาหารที่รับประทานสูงเป็นประจำ ขาดการออกกำลังกาย น้ำหนักเกิน อ้วน สูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป ความเครียด ในส่วนของโรคความดันโลหิตสูงชนิดที่ทราบสาเหตุอาจเกิดได้จากหลายสภาวะ เช่น ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ โรคไต ปัญหาต่อมไทรอยด์ เนื้องอกที่ต่อมหมวกไต หลอดเลือดผิดปกติแต่กำเนิด การใช้ยาบางชนิด การใช้สารเสพติด หรือแอลกอฮอล์ อันตรายจากโรคนี้ทำให้เป็นอัมพฤกษ์และอัมพาต พิการได้ ทำให้เป็นปัญหากับตนเอง ครอบครัว ชุมชน เสียค่าใช้จ่าย ค่าดูแล และขาดรายได้ การคัดกรองโรคทำได้โดยการวัดความดันโลหิตผู้รับบริการ หมู่ที่ 7 ตำบลพนางตุง มีผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 113 คน โรคเบาหวาน จำนวน 50คน ซึ่งในกลุ่มผู้ป่วยนี้จะต้องได้รับการติดตามดูแล ให้ได้รับบริการวัดความดันซ้ำตามเกณฑ์ที่กำหนดเดือนละ 1 ครั้ง จากอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ และหากความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นต้องส่งต่อไปโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกราย ในส่วนของกลุ่มสงสัยป่วย คนกลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่ต้องติดตามเพื่อให้ได้รับการดูแลและต่อเนื่อง เพื่อให้เข้ารับการรักษาเป็นกลุ่มผู้ป่วย ก่อนที่จะได้รับการวินิจฉัยกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับการติดตามวัดความดันโลหิต ที่บ้านคนละ 7 วันติดต่อกัน วันละ 2 ครั้ง ตอนเช้าและตอนเย็นทุกวัน โดยอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตรับผิดชอบ เมื่อครบแล้วอาสาสมัครจะนำผลการวัดความดันโลหิตเพื่อส่งให้แพทย์วินิจฉัยว่ากลุ่มสงสัยป่วยเหล่านี้ จะเป็นผู้ป่วยหรือไม่ หากเป็นผู้ป่วยจะได้รับยาและรักษาโรคความดันโลหิตสูง เป็นผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูง ส่วนผู้ที่ยังไม่ได้รับการวินิจฉัย จะมีการติดตามวัดความดันโลหิตจากอาสาสมัครสาธารณสุขต่อไปเดือนละ 1 ครั้ง จากที่กล่าวมาข้างต้นจำเป็นต้องใช้เครื่องวัดความดันโลหิตให้เพียงพอกับกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขได้มีอุปกรณ์ในการดำเนินงานติดตามเยี่ยมกลุ่มโรคเรื้อรังอย่างครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 7 จึงได้จัดทำโครงการติดตามดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ของหมู่ที่ 7 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังโดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตต่อเนื่อง
  2. 1.2 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. วัดความดันให้แก่กลุ่มเป้าหมาย
  2. วัดความดันให้แก่กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

6.1 กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตต่อเนื่อง โดยวัดคนละ 1 ครั้งต่อเดือน 6.2. กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน และส่งผลไปวินิจฉัยโรคต่อยังสถานพยาบาล 6.2. กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน และส่งผลไปวินิจฉัยโรคต่อยังสถานพยาบาล


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังโดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตต่อเนื่อง โดยวัดคนละ 1 ครั้งต่อเดือน

 

2 1.2 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยโรค
ตัวชี้วัด : กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน และส่งผลไปวินิจฉัยโรคต่อยังสถานพยาบาล

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 25
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 25
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังโดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตต่อเนื่อง (2) 1.2 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วัดความดันให้แก่กลุ่มเป้าหมาย (2) วัดความดันให้แก่กลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วย และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ของหมู่ที่ 7 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3323-2-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเกษมสุข ไชยผล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด