กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วย และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ของหมู่ที่ 11 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง


“ โครงการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วย และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ของหมู่ที่ 11 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ”

ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางจิรพร อรุณรัตน์

ชื่อโครงการ โครงการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วย และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ของหมู่ที่ 11 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567

ที่อยู่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3323-2-11 เลขที่ข้อตกลง 29/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วย และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ของหมู่ที่ 11 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วย และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ของหมู่ที่ 11 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วย และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ของหมู่ที่ 11 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3323-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,360.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้สภาพปัญหาทางสุขภาพเปลี่ยนไปด้วย ปัจจุบันแนวโน้มปัญหาสุขภาพที่เพิ่มสูงขึ้นจากสาเหตุโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเหล่านี้เป็นปัญหาที่สำคัญระดับประเทศและระดับโลก ซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นสถานการณ์โรคไม่ติดต่อมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคที่เป็นปัญหาอันดับสองของจังหวัดพัทลุง รองจากปัญหาโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงเป็นภาวะความดันเลือดภายในหลอดเลือดแดงสูงกว่าปกติตลอดเวลา โรคความดันสูงแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ชนิดที่ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด ซึ่งไม่สามารถระบุถึงต้นเหตุการณ์เกิดได้ แต่อาจจะเป็นเพราะปัจจัย อายุ: อายุมากขึ้นจะมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูงมากขึ้น มีประวัติครอบครัวเป็นโรคความดันโลหิตสูง: โรคนี้มีโอกาสพบได้ในคนในครอบครัวเดียวกัน รับประทานอาหารที่มีไขมันสูงเป็นประจำ รับประทานเกลือ มีเกลือในอาหารที่รับประทานสูงเป็นประจำ ขาดการออกกำลังกาย น้ำหนักเกิน อ้วน สูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์มากเกินไป ความเครียด ในส่วนของโรคความดันโลหิตสูงชนิดที่ทราบสาเหตุอาจเกิดได้จากหลายสภาวะ เช่น ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ โรคไต ปัญหาต่อมไทรอยด์ เนื้องอกที่ต่อมหมวกไต หลอดเลือดผิดปกติแต่กำเนิด การใช้ยาบางชนิด การใช้สารเสพติด หรือแอลกอฮอล์ อันตรายจากโรคนี้ทำให้เป็นอัมพฤกษ์และอัมพาต พิการได้ ทำให้เป็นปัญหากับตนเอง ครอบครัว ชุมชน เสียค่าใช้จ่าย ค่าดูแล และขาดรายได้ การคัดกรองโรคทำได้โดยการวัดความดันโลหิตผู้รับบริการ หมู่ที่ 11 ตำบลพนางตุง มีผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 91 คน โรคเบาหวาน จำนวน 41 คน ซึ่งในกลุ่มผู้ป่วยนี้จะต้องได้รับการติดตามดูแล ให้ได้รับบริการวัดความดันซ้ำตามเกณฑ์ที่กำหนดเดือนละ 1 ครั้ง จากอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ และหากความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นต้องส่งต่อไปโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกราย ในส่วนของกลุ่มสงสัยป่วย คนกลุ่มนี้เป็นกลุ่มที่ต้องติดตามเพื่อให้ได้รับการดูแลและต่อเนื่อง เพื่อให้เข้ารับการรักษาเป็นกลุ่มผู้ป่วย ก่อนที่จะได้รับการวินิจฉัยกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับการติดตามวัดความดันโลหิต ที่บ้านคนละ 7 วันติดต่อกัน วันละ 2 ครั้ง ตอนเช้าและตอนเย็นทุกวัน โดยอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตรับผิดชอบ เมื่อครบแล้วอาสาสมัครจะนำผลการวัดความดันโลหิตเพื่อส่งให้แพทย์วินิจฉัยว่ากลุ่มสงสัยป่วยเหล่านี้ จะเป็นผู้ป่วยหรือไม่ หากเป็นผู้ป่วยจะได้รับยาและรักษาโรคความดันโลหิตสูง เป็นผู้ป่วยรายใหม่โรคความดันโลหิตสูง ส่วนผู้ที่ยังไม่ได้รับการวินิจฉัย จะมีการติดตามวัดความดันโลหิตจากอาสาสมัครสาธารณสุขต่อไปเดือนละ 1 ครั้ง จากที่กล่าวมาข้างต้นจำเป็นต้องใช้เครื่องวัดความดันโลหิตให้เพียงพอกับกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขได้มีอุปกรณ์ในการดำเนินงานติดตามเยี่ยมกลุ่มโรคเรื้อรังอย่างครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 11 จึงได้จัดทำโครงการติดตามดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ของหมู่ที่ 11 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังโดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตต่อเนื่อง
  2. 1.2 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยโรค

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. วัดความดันให้แก่กลุ่มเป้าหมาย
  2. วัดความดันให้แก่กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 12
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

6.1 กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตต่อเนื่อง โดยวัดคนละ 1 ครั้งต่อเดือน 6.2. กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน และส่งผลไปวินิจฉัยโรคต่อยังสถานพยาบาล 6.2. กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน และส่งผลไปวินิจฉัยโรคต่อยังสถานพยาบาล


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังโดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตต่อเนื่อง โดยวัดคนละ 1 ครั้งต่อเดือน

 

2 1.2 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยโรค
ตัวชี้วัด : กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน และส่งผลไปวินิจฉัยโรคต่อยังสถานพยาบาล

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 12
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 12
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังโดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูงได้รับการวัดความดันโลหิตต่อเนื่อง (2) 1.2 เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยได้รับการวินิจฉัยโรค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วัดความดันให้แก่กลุ่มเป้าหมาย (2) วัดความดันให้แก่กลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการติดตามดูแลสุขภาพผู้ป่วย และกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ของหมู่ที่ 11 ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3323-2-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจิรพร อรุณรัตน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด