กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการซาตูปาดูร่วมใจลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ในเขตเทศบาลตำบลมะรือโบตก ปี 2567 ”



หัวหน้าโครงการ
นายมูหมัด อีอาซา

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการซาตูปาดูร่วมใจลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ในเขตเทศบาลตำบลมะรือโบตก ปี 2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L8302-2-11 เลขที่ข้อตกลง 11/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการซาตูปาดูร่วมใจลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ในเขตเทศบาลตำบลมะรือโบตก ปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการซาตูปาดูร่วมใจลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ในเขตเทศบาลตำบลมะรือโบตก ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการซาตูปาดูร่วมใจลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ในเขตเทศบาลตำบลมะรือโบตก ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 67-L8302-2-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2567 - 31 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,545.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพประชาชนที่มีความเสี่ยงมักเกิดจากความเคยชินจากพฤติกรรมสุขภาพที่ติดตัวมาตั้งแต่ช่วงวัยกลางคน ซึ่งการละเลยการดูแลสุขภาพร่างกายในขณะที่ถูกใช้งานอย่างหนัก ทำให้เกิดการสะสมหรือก่อตัวของโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคอ้วนลงพุง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น ซึ่งการป้องกันโรค  ในประชาชนที่มีความเสี่ยงแม้ว่าจะเป็นการแก้ปัญหาเพื่อส่งเสริมไม่ให้มีการเกิดโรคขึ้น แต่เมื่อก้าวเข้าสู่วัยสูงอายุและมีโรคเรื้อรังเกิดขึ้นแล้ว จึงจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันสุขภาพไม่ให้เกิดโรคในระยะยาวและป้องกันโรคเรื้อรังที่อาจจะเกิดขึ้นใหม่         การออกกำลังกายมีประโยชน์ต่อสุขภาพหลายประการ เช่น ทำให้ร่างกายแข็งแรง ป้องกันโรคภัย ไข้เจ็บ ช่วยผ่อนคลายความเครียดทำให้ร่างกายกระปรี้กระเปร่า นอนหลับสบาย มีสุขภาพดีขึ้น แต่ในปัจจุบัน ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมมีมากขึ้น มนุษย์ได้มีการเปลี่ยนแปลงธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่ออำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิต การใช้กล้ามเนื้อและพลังกายลดลงทำให้สมรรถภาพร่างกายและคุณภาพการปฏิบัติงานในหน้าที่ลดลงตามไปด้วย นอกจากนี้ตามรายงานการค้นคว้าทางการแพทย์ยืนยันว่า บุรี่ สุรา และสิ่งเสพติดต่างๆ มีส่วนบันทอนสุขภาพร่างกาย ในทางตรงกันข้าม การออกกำลังกายหรือการเล่นกีฬาเพียงวันละ 30 นาที และงดสิ่งเสพติดทั้งหลาย จะช่วยทำให้สมรรถภาพร่างกาย สมบูรณ์ แข็งแรง อีกทั้งยังลดปัจจัยเสี่ยงต่อโรคต่างๆ เช่น โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน แลไขมันในเลือดสูง ตามนโยบายของรัฐบาลที่ส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาพดี ภายใต้ยุทธศาสตร์แห่งชาติ "รวมพลังสร้างสุขภาพ เพื่อคนไทยแข็งแรงเมืองไทยแข็งแรง"         จากข้อมูลการสำรวจประชาชนในเขตเทศบาลตำบลมะรือโบตก พบว่าประชาชนส่วนใหญ่ รับประทานอาหารแกงถุง อาหารที่มีรสเค็ม หวานจัด อาหารมันเป็นประจำ การไม่ออกกำลังกาย และมีพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ดังนั้น อสม.นักจัดการสุขภาพเพื่อ สปสช.มะรือโบตก จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการซาตูปาดูร่วมใจลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ในเขตเทศบาลตำบลมะรือโบตก ปี 2567 ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้และสามารถนำความรู้  มาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและลดภาวะแทรกซ้อนของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโภชนาการ โรค และการออกกำลังกายที่ถูกต้อง เหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่ กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (NCDs) เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นต้น
  2. ส่งเสริมการออกกำลังกาย ระยะเวลา 1 เดือน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชนเขตเทศบาลตำบลมะรือโบตก มีความรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) 2.ลดจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่ 3.ประชาชนในชุมชนมีการทำกิจกรรมทางกายร่วมกัน มีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
65.00 35.00

 

2 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโภชนาการ โรค และการออกกำลังกายที่ถูกต้อง เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโภชนาการ โรค และการออกกำลังกายที่ถูกต้อง เหมาะสม
65.00 35.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (2) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโภชนาการ โรค และการออกกำลังกายที่ถูกต้อง เหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่        กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (NCDs) เช่น  เบาหวาน ความดันโลหิตสูง เป็นต้น (2) ส่งเสริมการออกกำลังกาย ระยะเวลา 1 เดือน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการซาตูปาดูร่วมใจลดภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ในเขตเทศบาลตำบลมะรือโบตก ปี 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L8302-2-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูหมัด อีอาซา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด