กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย ”

ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสวรรณา ชูดำ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย

ที่อยู่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3323-3-04 เลขที่ข้อตกลง 16/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3323-3-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,154.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กปฐมวัยเป็นช่วงวัยที่สำคัญที่สุดของการเจริญเติบโตและพัฒนาการทุกๆ ด้าน เป็นวัยที่จะได้รับการอบรมเลี้ยงดูจากพ่อแม่และเครือญาติ แต่จากสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนไป พ่อแม่ต้องทำงานนอกบ้านการอบรมเลี้ยงดูเด็กมิอาจพึ่งพาบุคคลในครอบครัวได้เต็มที่ ทำให้พ่อแม่ต้องหาผู้ดูแลแทนตนเอง ศูนย์เด็กเล็กจึงมีบทบาทสำคัญ ดังนั้น จึงต้องมีมาตรฐานและคุณภาพ เป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคนให้สามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยมุ่งหวังเด็กเล็กได้รับการพัฒนาให้มีความพร้อมทางด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และ ด้านสติปัญญา การจัดการศึกษาปฐมวัยเป็นการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับแรก เพื่อวางรากฐานชีวิตของเด็กไทย ให้เจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ มีพัฒนาการสมวัยอย่างสมดุลทั้งด้านร่างกาย ซึ่งเป็นการพัฒนาเด็กบนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดู และส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่สนองต่อ ธรรมชาติและพัฒนาการของเด็ก โดยใช้กิจกรรมกระตุ้นส่งเสริมพัฒนาการสมองอย่างเต็มที่ ทั้งกิจกรรมใน หลักสูตร และกิจกรรมเสริมหลักสูตร จากสภาพปัจจุบันศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการจัดกิจกรรม เช่น กิจกรรม เด็กปฐมวัยสุขภาพดี  ตรวจสุขภาพเก็บข้อมูล น้ำหนัก ส่วนสูง กิจกรรมหนูน้อยฟันสวย อบรมวิธีการแปรงฟันสาธิตการแปรงสีฟันที่ถูกวิธี และแปรงฟันหลังรับประทานอาหารเที่ยงตรวจความสะอาดช่องปาก กิจกรรมอบรมให้ความรู้ป้องกัน และเฝ้าระวังการเกิดโรคติดต่อ สถานการณ์โรคติดต่อในเด็กปฐมวัยในพื้นที่ โรคติดต่อที่สำคัญ เช่น โรคติดเชื้อโคโรนา 2019 (COVID -19) ไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก เป็นต้น และการเฝ้าระวังโรคการป้องกันการควบคุมโรค สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดโรค ทักษะในการจัดการสิ่งแวดล้อม การล้างทำความสะอาดของเล่น อุปกรณ์เด็กที่ใช้ร่วมกัน การคัดกรองอาการป่วยโรคติดต่อชนิดต่างๆ ทักษะในการดูแลเด็กเบื้องต้น เช่น การเช็ดตัวลดไข้ การวัดไข้เด็ก และการปฐมพยาบาล คัดกรองเด็กก่อนเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ให้เด็กล้างมือด้วยเจลก่อนเข้าห้องเรียน ให้เด็กล้างมือด้วยสบู่ก่อนรับประทานอาหารกลางวันและหลังจากเข้าห้องน้ำ และกิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้ป้องกันเหตุฉุกเฉินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เรียนรู้ทักษะการหนีไฟและดับไฟเบื้องต้น ให้กับเด็ก และบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อส่งเสริม พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา ทำให้เจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์ตามเกณฑ์ พัฒนาการในแต่ละช่วงวัยได้อย่างเหมาะสม ส่งผลให้เด็กมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยที่ดีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยรวมทั้ง เป็นการตอบสนองยุทธศาสต์และกลยุทธ์ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในการพัฒนากิจกรรมเพื่อให้เด็กมีทักษะและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีเจตคติที่ดี มีสุนทรียภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมายมาตรฐาน การศึกษาของชาติที่ต้องการให้คนไทยมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และเป็นพลเมืองดี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านในยาง จึงมีโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยเพื่อสนองเจตนารมณ์ ดังกล่าว ดังนั้นคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านในยางตำบลพนางตุงได้เล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กปฐมวัย จึงได้จัดทำโครงการศูนย์เด็กเล็กคุณภาพขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.1 เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
  2. 1.2 เพื่อให้เด็กมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
  3. 1.3 เพื่อให้ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และเด็ก รู้วิธีการป้องกันและเฝ้าระวังการเกิดโรคติดต่อ
  4. 1.4 เพื่อให้ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก และเด็กมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเด็กปฐมวัยสุขภาพดี
  2. กิจกรรมหนูน้อยฟันสวย
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ป้องกัน และเฝ้าระวังการเกิดโรคติดต่อ
  4. กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้ป้องกันเหตุฉุกเฉินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  5. กิจกรรมเด็กปฐมวัยสุขภาพดี
  6. กิจกรรมหนูน้อยฟันสวย
  7. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ป้องกันและเฝ้าระวังการเกิดโรคติดต่อ
  8. กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้ป้องกันเหตุฉุกเฉินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 24
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

6.1 เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย 6.2 เด็กมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
6.3 ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และเด็ก รู้วิธีการป้องกันและเฝ้าระวังการเกิดโรคติดต่อ 6.4 ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก และเด็กมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.1 เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย
ตัวชี้วัด : 1. เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย

 

2 1.2 เพื่อให้เด็กมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
ตัวชี้วัด : 2. เด็กมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง

 

3 1.3 เพื่อให้ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และเด็ก รู้วิธีการป้องกันและเฝ้าระวังการเกิดโรคติดต่อ
ตัวชี้วัด : 3. ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และเด็ก รู้วิธีการป้องกันและเฝ้าระวังการเกิดโรคติดต่อ

 

4 1.4 เพื่อให้ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก และเด็กมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : 4. ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก และเด็กมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 24
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 24
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1 เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย (2) 1.2 เพื่อให้เด็กมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง (3) 1.3 เพื่อให้ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และเด็ก รู้วิธีการป้องกันและเฝ้าระวังการเกิดโรคติดต่อ (4) 1.4 เพื่อให้ครู/ครูผู้ดูแลเด็ก และเด็กมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเด็กปฐมวัยสุขภาพดี (2) กิจกรรมหนูน้อยฟันสวย (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ป้องกัน และเฝ้าระวังการเกิดโรคติดต่อ (4) กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้ป้องกันเหตุฉุกเฉินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (5) กิจกรรมเด็กปฐมวัยสุขภาพดี (6) กิจกรรมหนูน้อยฟันสวย (7) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ป้องกันและเฝ้าระวังการเกิดโรคติดต่อ (8) กิจกรรมฝึกอบรมให้ความรู้ป้องกันเหตุฉุกเฉินในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3323-3-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสวรรณา ชูดำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด