กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เรื่อง การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ1 มกราคม 2567
1
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วิธีดำเนินการ 1. จัดการอบรมให้ความรู้ อาสาสมัครในชุมชนในพื้นที่เทศบาลนครตรัง ให้แก่คนในชุมชน โดยสอนทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ การใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ในการช่วยเหลือ การช่วยฟื้นคืนชีพผู้ที่ตกน้ำ จมน้ำ การส่งต่อผู้ที่จมน้ำไปยังโรงพยาบาลประจำตำบล อย่างถูกวิธี การจัดหาอุปกรณ์ในการช่วยเหลือไว้บริเวณสระน้ำที่มีความเสี่ยง 2. อาสาสมัครที่ผ่านการฝึกอบรม จัดกิจกรรมฝึกทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำและทักษะการช่วยชีวิตผู้ประสบภัยทางน้ำใน ตามหลักสูตรดังนี้                   2.1 ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ เป็นการให้ความรู้และสอนให้เด็กรู้จัก - แหล่งน้ำเสี่ยงทั้งในบ้าน รอบบ้าน ละแวกบ้านและในชุมชน - สภาพแหล่งน้ำ เช่น น้ำลึก น้ำตื้น น้ำวน ปรากฎการณ์ Rip Current - วิธีการลงและขึ้นแหล่งน้ำด้วยความปลอดภัย - ทักษะความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ (การปฏิบัติตามระเบียบการใช้สระน้ำ และกฎ แห่งความปลอดภัยทั่วไป) - ความปลอดภัยในการเดินทางทางน้ำ                   2.2 การเอาชีวิตรอดและพื้นฐานการว่ายน้ำ เป็นการสอนให้เด็กมีทักษะ - การเอาชีวิตรอดในน้ำ  โดยการลอยตัวทั้งการลอยตัวแบบนอนคว่ำ การลอยตัวแบบนอน หงาย (แม่ชีลอยน้ำ) และการลอยตัวแบบลำตัวตั้ง (การลอยคอ  การลอยตัวแบบลูกหมาตกน้ำ) การทำท่าผีจีน การใช้อุปกรณ์ช่วยในการเอาชีวิตรอด เช่น ขวดน้ำพลาสติก รองเท้าแตะฟองน้ำ  การเคลื่อนที่ไปจับอุปกรณ์ลอยน้ำใน น้ำลึก และการเลือกใช้เสื้อชูชีพ - พื้นฐานการว่ายน้ำ ได้แก่การสร้างความคุ้นเคยกับน้ำ  การหายใจในการว่ายน้ำ และการ เตะเท้าคว่ำสลับกัน 2.3 การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ เป็นการสอนให้เด็กรู้จักการร้องขอความช่วยเหลือจาก ผู้ใหญ่  การช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำด้วยการโยนอุปกรณ์ เช่น ขวดน้ำดื่มพลาสติก  ถังแกลลอน  เสื้อชูชีพ และการช่วย ผู้ประสบภัยทางน้ำด้วยการยื่นอุปกรณ์ เช่น ท่อ PVC  ไม้ไผ่ กิ่งไม้ การปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างถูกวิธีและช่วยฟื้นคืนชีพแก่ผู้ตกน้ำ จมน้ำ ก่อนนำส่งโรงพยาบาล 3. แสวงหาความร่วมมือจากจากเครือข่ายในพื้นที่ เช่นสถาบันทางการศึกษา เพื่อผลักดันหลักสูตร การป้องกันเด็กจมน้ำเข้าเป็นหลักสูตรเสริมสร้างประสบการชีวิตในโรงเรียน และประชาสัมพันธ์การดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำ
4. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน (แบบประเมินผลก่อนและหลังการอบรม รวมถึงข้อมูลของเด็กที่ประสบอุบัติเหตุจากการจมน้ำในปี 2565) 5. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ดำเนินการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการเอาชีวิตรอดและพื้นฐานการว่ายน้ำ รู้จักวิธีการร้องขอความช่วยเหลือ และการโทรแจ้งความช่วยเหลือจากหมายเลข 1669 การช่วยตนเองและการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำด้วยการโยนอุปกรณ์ เช่น ขวดน้ำพลาสติก ถังแกลลอน เสื้อชูชีพ ท่อ PVC ไม้ไผ่ กิ่งไม้ เป็นต้น

อบรมเชิงปฏิบัติเรื่อง การเอาชีวิตรอดและพื้นฐานการว่ายน้ำ1 มกราคม 2567
1
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วิธีดำเนินการ 1. จัดการอบรมให้ความรู้ อาสาสมัครในชุมชนในพื้นที่เทศบาลนครตรัง ให้แก่คนในชุมชน โดยสอนทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ การใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ในการช่วยเหลือ การช่วยฟื้นคืนชีพผู้ที่ตกน้ำ จมน้ำ การส่งต่อผู้ที่จมน้ำไปยังโรงพยาบาลประจำตำบล อย่างถูกวิธี การจัดหาอุปกรณ์ในการช่วยเหลือไว้บริเวณสระน้ำที่มีความเสี่ยง 2. อาสาสมัครที่ผ่านการฝึกอบรม จัดกิจกรรมฝึกทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำและทักษะการช่วยชีวิตผู้ประสบภัยทางน้ำใน ตามหลักสูตรดังนี้                   2.1 ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ เป็นการให้ความรู้และสอนให้เด็กรู้จัก - แหล่งน้ำเสี่ยงทั้งในบ้าน รอบบ้าน ละแวกบ้านและในชุมชน - สภาพแหล่งน้ำ เช่น น้ำลึก น้ำตื้น น้ำวน ปรากฎการณ์ Rip Current - วิธีการลงและขึ้นแหล่งน้ำด้วยความปลอดภัย - ทักษะความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ (การปฏิบัติตามระเบียบการใช้สระน้ำ และกฎ แห่งความปลอดภัยทั่วไป) - ความปลอดภัยในการเดินทางทางน้ำ                   2.2 การเอาชีวิตรอดและพื้นฐานการว่ายน้ำ เป็นการสอนให้เด็กมีทักษะ - การเอาชีวิตรอดในน้ำ  โดยการลอยตัวทั้งการลอยตัวแบบนอนคว่ำ การลอยตัวแบบนอน หงาย (แม่ชีลอยน้ำ) และการลอยตัวแบบลำตัวตั้ง (การลอยคอ  การลอยตัวแบบลูกหมาตกน้ำ) การทำท่าผีจีน การใช้อุปกรณ์ช่วยในการเอาชีวิตรอด เช่น ขวดน้ำพลาสติก รองเท้าแตะฟองน้ำ  การเคลื่อนที่ไปจับอุปกรณ์ลอยน้ำใน น้ำลึก และการเลือกใช้เสื้อชูชีพ - พื้นฐานการว่ายน้ำ ได้แก่การสร้างความคุ้นเคยกับน้ำ  การหายใจในการว่ายน้ำ และการ เตะเท้าคว่ำสลับกัน 2.3 การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ เป็นการสอนให้เด็กรู้จักการร้องขอความช่วยเหลือจาก ผู้ใหญ่  การช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำด้วยการโยนอุปกรณ์ เช่น ขวดน้ำดื่มพลาสติก  ถังแกลลอน  เสื้อชูชีพ และการช่วย ผู้ประสบภัยทางน้ำด้วยการยื่นอุปกรณ์ เช่น ท่อ PVC  ไม้ไผ่ กิ่งไม้ การปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างถูกวิธีและช่วยฟื้นคืนชีพแก่ผู้ตกน้ำ จมน้ำ ก่อนนำส่งโรงพยาบาล 3. แสวงหาความร่วมมือจากจากเครือข่ายในพื้นที่ เช่นสถาบันทางการศึกษา เพื่อผลักดันหลักสูตร การป้องกันเด็กจมน้ำเข้าเป็นหลักสูตรเสริมสร้างประสบการชีวิตในโรงเรียน และประชาสัมพันธ์การดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำ
4. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน (แบบประเมินผลก่อนและหลังการอบรม รวมถึงข้อมูลของเด็กที่ประสบอุบัติเหตุจากการจมน้ำในปี 2565) 5. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ดำเนินการจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติเรื่องการเอาชีวิตรอดและพื้นฐานการว่ายน้ำ มีการเรียนรู้ภาคทฤษฎีพร้อมการปฏิบัติ เรื่องการเอาชีวิตรอดทางน้ำ โดยการลอยตัวทั้งการลอยตัวแบบนอนคว่ำและนอนหงาย การลอยตัวแบบลำตัวตั้ง ทักษะการใช้อุปกรณ์ช่วยในการเอาชีวิตรอด เช่น การใช้ขวดน้ำพลาสติก ไม้ยาว ถึงพลาสติก ฯลฯ การเคลื่อนที่ไปจับอุปกรณ์ลอยน้ำในน้ำลึก และการเลือกใช้เสื้อชูชีพ ปฏิบัติเรื่องพื้นฐานการว่ายน้ำ ได้แก่ การสร้างความคุ้นเคยกับน้ำการหายใจในการว่ายน้ำ และการเตะเท้าคว่ำสลับกัน

อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ความปลอดภัยทางน้ำ1 มกราคม 2567
1
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วิธีดำเนินการ 1. จัดการอบรมให้ความรู้ อาสาสมัครในชุมชนในพื้นที่เทศบาลนครตรัง ให้แก่คนในชุมชน โดยสอนทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ การใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ในการช่วยเหลือ การช่วยฟื้นคืนชีพผู้ที่ตกน้ำ จมน้ำ การส่งต่อผู้ที่จมน้ำไปยังโรงพยาบาลประจำตำบล อย่างถูกวิธี การจัดหาอุปกรณ์ในการช่วยเหลือไว้บริเวณสระน้ำที่มีความเสี่ยง 2. อาสาสมัครที่ผ่านการฝึกอบรม จัดกิจกรรมฝึกทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำและทักษะการช่วยชีวิตผู้ประสบภัยทางน้ำใน ตามหลักสูตรดังนี้                   2.1 ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ เป็นการให้ความรู้และสอนให้เด็กรู้จัก - แหล่งน้ำเสี่ยงทั้งในบ้าน รอบบ้าน ละแวกบ้านและในชุมชน - สภาพแหล่งน้ำ เช่น น้ำลึก น้ำตื้น น้ำวน ปรากฎการณ์ Rip Current - วิธีการลงและขึ้นแหล่งน้ำด้วยความปลอดภัย - ทักษะความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ (การปฏิบัติตามระเบียบการใช้สระน้ำ และกฎ แห่งความปลอดภัยทั่วไป) - ความปลอดภัยในการเดินทางทางน้ำ                   2.2 การเอาชีวิตรอดและพื้นฐานการว่ายน้ำ เป็นการสอนให้เด็กมีทักษะ - การเอาชีวิตรอดในน้ำ  โดยการลอยตัวทั้งการลอยตัวแบบนอนคว่ำ การลอยตัวแบบนอน หงาย (แม่ชีลอยน้ำ) และการลอยตัวแบบลำตัวตั้ง (การลอยคอ  การลอยตัวแบบลูกหมาตกน้ำ) การทำท่าผีจีน การใช้อุปกรณ์ช่วยในการเอาชีวิตรอด เช่น ขวดน้ำพลาสติก รองเท้าแตะฟองน้ำ  การเคลื่อนที่ไปจับอุปกรณ์ลอยน้ำใน น้ำลึก และการเลือกใช้เสื้อชูชีพ - พื้นฐานการว่ายน้ำ ได้แก่การสร้างความคุ้นเคยกับน้ำ  การหายใจในการว่ายน้ำ และการ เตะเท้าคว่ำสลับกัน 2.3 การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ เป็นการสอนให้เด็กรู้จักการร้องขอความช่วยเหลือจาก ผู้ใหญ่  การช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำด้วยการโยนอุปกรณ์ เช่น ขวดน้ำดื่มพลาสติก  ถังแกลลอน  เสื้อชูชีพ และการช่วย ผู้ประสบภัยทางน้ำด้วยการยื่นอุปกรณ์ เช่น ท่อ PVC  ไม้ไผ่ กิ่งไม้ การปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างถูกวิธีและช่วยฟื้นคืนชีพแก่ผู้ตกน้ำ จมน้ำ ก่อนนำส่งโรงพยาบาล 3. แสวงหาความร่วมมือจากจากเครือข่ายในพื้นที่ เช่นสถาบันทางการศึกษา เพื่อผลักดันหลักสูตร การป้องกันเด็กจมน้ำเข้าเป็นหลักสูตรเสริมสร้างประสบการชีวิตในโรงเรียน และประชาสัมพันธ์การดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำ
4. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน (แบบประเมินผลก่อนและหลังการอบรม รวมถึงข้อมูลของเด็ก          ที่ประสพอุบัติเหตุจากการจมน้ำในปี 2565) 5. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เ้ข้าร่วมการอบรมได้ทราบถึงว่าเหตุการณ์จมน้ำไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะกับเด็กแต่ไม่สามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกวัย จากนั้นได้เรียนรู้วิธีเรียนรู้วิธีป้องกัน ความเสี่ยงและการช่วยเหลือผู้อื่นการจมน้ำจากแหล่งน้ำเสี่ยงทั้งในบ้าน รอบบ้าน ละแวกบ้านและในชุมชน เช่น คลองนางน้อย  ฝึกสังเกตุสภาพแหล่งน้ำ เช่น น้ำลึก น้ำตื้น น้ำวน พร้อมทั้งวิธีการลงและขึ้นแหล่งน้ำด้วยความปลอดภัยขั้นเบื้องต้น เนื่องจากบางจุดต้องใช้ผู้ที่มีความชำนาญและมีอุปกรณ์เท่านั้น เรียนรู้ทักษะความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ เช่น กฎแห่งความปลอดภัยในการเดินทางทางน้ำ

อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง ความปลอดภัยทางน้ำ1 มกราคม 2567
1
มกราคม 2567รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

วิธีดำเนินการ 1. จัดการอบรมให้ความรู้ อาสาสมัครในชุมชนในพื้นที่เทศบาลนครตรัง ให้แก่คนในชุมชน โดยสอนทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ การใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ในการช่วยเหลือ การช่วยฟื้นคืนชีพผู้ที่ตกน้ำ จมน้ำ การส่งต่อผู้ที่จมน้ำไปยังโรงพยาบาลประจำตำบล อย่างถูกวิธี การจัดหาอุปกรณ์ในการช่วยเหลือไว้บริเวณสระน้ำที่มีความเสี่ยง 2. อาสาสมัครที่ผ่านการฝึกอบรม จัดกิจกรรมฝึกทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำและทักษะการช่วยชีวิตผู้ประสบภัยทางน้ำใน ตามหลักสูตรดังนี้                   2.1 ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ เป็นการให้ความรู้และสอนให้เด็กรู้จัก - แหล่งน้ำเสี่ยงทั้งในบ้าน รอบบ้าน ละแวกบ้านและในชุมชน - สภาพแหล่งน้ำ เช่น น้ำลึก น้ำตื้น น้ำวน ปรากฎการณ์ Rip Current - วิธีการลงและขึ้นแหล่งน้ำด้วยความปลอดภัย - ทักษะความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ (การปฏิบัติตามระเบียบการใช้สระน้ำ และกฎ แห่งความปลอดภัยทั่วไป) - ความปลอดภัยในการเดินทางทางน้ำ                   2.2 การเอาชีวิตรอดและพื้นฐานการว่ายน้ำ เป็นการสอนให้เด็กมีทักษะ - การเอาชีวิตรอดในน้ำ  โดยการลอยตัวทั้งการลอยตัวแบบนอนคว่ำ การลอยตัวแบบนอน หงาย (แม่ชีลอยน้ำ) และการลอยตัวแบบลำตัวตั้ง (การลอยคอ  การลอยตัวแบบลูกหมาตกน้ำ) การทำท่าผีจีน การใช้อุปกรณ์ช่วยในการเอาชีวิตรอด เช่น ขวดน้ำพลาสติก รองเท้าแตะฟองน้ำ  การเคลื่อนที่ไปจับอุปกรณ์ลอยน้ำใน น้ำลึก และการเลือกใช้เสื้อชูชีพ - พื้นฐานการว่ายน้ำ ได้แก่การสร้างความคุ้นเคยกับน้ำ  การหายใจในการว่ายน้ำ และการ เตะเท้าคว่ำสลับกัน 2.3 การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำ เป็นการสอนให้เด็กรู้จักการร้องขอความช่วยเหลือจาก ผู้ใหญ่  การช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำด้วยการโยนอุปกรณ์ เช่น ขวดน้ำดื่มพลาสติก  ถังแกลลอน  เสื้อชูชีพ และการช่วย ผู้ประสบภัยทางน้ำด้วยการยื่นอุปกรณ์ เช่น ท่อ PVC  ไม้ไผ่ กิ่งไม้ การปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างถูกวิธีและช่วยฟื้นคืนชีพแก่ผู้ตกน้ำ จมน้ำ ก่อนนำส่งโรงพยาบาล 3. แสวงหาความร่วมมือจากจากเครือข่ายในพื้นที่ เช่นสถาบันทางการศึกษา เพื่อผลักดันหลักสูตร การป้องกันเด็กจมน้ำเข้าเป็นหลักสูตรเสริมสร้างประสบการชีวิตในโรงเรียน และประชาสัมพันธ์การดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำ
4. ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน (แบบประเมินผลก่อนและหลังการอบรม รวมถึงข้อมูลของเด็ก          ที่ประสพอุบัติเหตุจากการจมน้ำในปี 2565) 5. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ผู้เ้ข้าร่วมการอบรมได้ทราบถึงว่าเหตุการณ์จมน้ำไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะกับเด็กแต่ไม่สามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกวัย จากนั้นได้เรียนรู้วิธีเรียนรู้วิธีป้องกัน ความเสี่ยงและการช่วยเหลือผู้อื่นการจมน้ำจากแหล่งน้ำเสี่ยงทั้งในบ้าน รอบบ้าน ละแวกบ้านและในชุมชน เช่น คลองนางน้อย  ฝึกสังเกตุสภาพแหล่งน้ำ เช่น น้ำลึก น้ำตื้น น้ำวน พร้อมทั้งวิธีการลงและขึ้นแหล่งน้ำด้วยความปลอดภัยขั้นเบื้องต้น เนื่องจากบางจุดต้องใช้ผู้ที่มีความชำนาญและมีอุปกรณ์เท่านั้น เรียนรู้ทักษะความปลอดภัยในกิจกรรมทางน้ำ เช่น กฎแห่งความปลอดภัยในการเดินทางทางน้ำ