กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา


“ โครงการคัดกรองภาวะโลหิตจางในเด็ก ตำบลเทพา ”

ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์เวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนศูนย์ 2

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองภาวะโลหิตจางในเด็ก ตำบลเทพา

ที่อยู่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L8287-1-9 เลขที่ข้อตกลง 20/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองภาวะโลหิตจางในเด็ก ตำบลเทพา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองภาวะโลหิตจางในเด็ก ตำบลเทพา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองภาวะโลหิตจางในเด็ก ตำบลเทพา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L8287-1-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,880.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เทพา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากรายงานขององค์การอนามัยโลก ในปี ค.ศ. 2011 พบภาวะซีดได้ร้อยละ 20-40 ของเด็กไทยที่มีอายุ 6 เดือนถึง 5 ปี เป็นช่วงอายุที่พบภาวะซีดได้มากที่สุด สาเหตุของภาวะซีดที่พบได้บ่อย ได้แก่ ภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะซีดที่พบได้บ่อยที่สุดในเด็ก ส่วนสาเหตุที่พบได้รองลงมา คือ โรคธาลัสซีเมีย ซึ่งเป็นโลหิตจางทางพันธุกรรม ยังพบสาเหตุอื่นๆ ที่ทำให้ซีดได้อีก เช่น โรคมะเร็ง และโรคโลหิตจางทางพันธุกรรมอื่นๆ ซึ่งต้องอาศัยการซักประวัติ การตรวจร่างกาย และการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อนำไปสู่การวินิจฉัยที่ถูกต้อง  ภาวะซีดเล็กน้อยจะทำให้เด็กดูซีดลง ทั้งที่ตา หน้า ริมฝีปาก ฝ่ามือ แต่อาการอื่นๆ จะปกติ เมื่อมีภาวะซีดปานกลางเด็กจะมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ในกรณีที่ภาวะซีดรุนแรงมาก เด็กอาจจะมีอาการหัวใจวายและมีการเจริญ เติบโตที่ช้ากว่าปกติได้สำหรับเด็กที่มีภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก จะมีผลต่อพัฒนาการและความสามารถในการเรียนรู้ที่ลดลง เมื่อเทียบกับเด็กที่ไม่มีภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็กเนื่องจากสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็กที่พบบ่อยในเด็ก คือ การได้รับธาตุเหล็กจากอาหารที่ไม่เพียงพอ จึงสามารถป้องกันได้โดยการรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ทั้ง ข้าว ไข่แดง เนื้อสัตว์ ผัก และผลไม้ ซึ่งอาหารที่มีธาตุเหล็กสามารถพบได้ในเนื้อแดง ไข่แดง เครื่องในสัตว์ ตับหมู เลือดหมู ผักใบเขียว ธัญพืช และนม สำหรับในเด็กแรกเกิดมักได้รับสารอาหารจากนมแม่ ซึ่งคุณแม่สามารถส่งเสริมได้โดยการกินอาหารที่มีธาตุเหล็กด้วยเช่นกัน ซึ่งจากข้อมูลรายงาน 43 แฟ้มของกรมอนามัยสาธารณสุข เด็กในเขตความรับผิดชอบของคลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวศูนย์สองในปีงบประมาณ 2566 ที่ผ่านมาพบว่าเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 1 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 34.69 % (17 จาก 49) พบภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 47.05 % (8 จาก 17) จากข้อมูลจะเห็นว่าการคัดกรองภาวะโลหิตจางในกลุ่มเด็กดังกล่าวยังน้อย และยังพบภาวะโลหิตจางสูงเกินร้อยละ 10 อีกด้วย
ทั้งนี้คลินิกเวชปฏิบัติครอบครัวศูนย์สอง ได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าว จึงจัดโครงการคัดกรองภาวะโลหิตจางในเด็ก6เดือน- 1ปีขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาเด็กที่มีภาวะซีด ให้ได้รับ การรักษาอย่างทั่วถึง ตลอดจนเพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กใส่ใจโภชนาการที่ดี ก่อให้เด็กที่จะเติบโตเป็นทรัพยากรมนุษย์ ที่มีคุณภาพทั้งด้านร่างกายสูงดี สมส่วน มีพัฒนาการสมวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองภาวะโลหิตจางในเด็ก 6 เดือน-1 ปี
  2. ให้ความรู้เรื่องการดูแลเด็กที่มีปัญหาซีดและโภชนาการในเด็ก แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแล
  3. เพื่อให้เด็กที่มีภาวะซีดเข้ารับการรักษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรองภาวะโลหิตจาง -คัดกรองเด็กอายุ 6 เดือน ถึง1 ปี
  2. กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแล แลกเปลี่ยนประสบการณ์การ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก 6เดือนถึง-1 ปี ทั้งหมด 2 ครั้ง
  3. กิจกรรมติดตาม รักษา อย่างต่อเนื่อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 98
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กที่มีภาวะซีดได้รับการรักษา ติดตาม ส่งต่อ 2.เด็ก 6 เดือนถึง 1 ปี ได้รับการคัดกรองภาวะโลหิตจาง เข้าถึงบริการได้ง่าย 3.ผู้ปกครองและผู้ดูแลมีความเข้าใจ ความรู้เชิงลึกของโภชนาการที่ดี สำหรับเด็กได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองภาวะโลหิตจางในเด็ก 6 เดือน-1 ปี
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 6 เดือน-1 ปีได้รับการคัดกรองภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 80
1.00

 

2 ให้ความรู้เรื่องการดูแลเด็กที่มีปัญหาซีดและโภชนาการในเด็ก แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแล
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและผู้ดูแล มีผลการวัดความรู้ ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ (ตอบถูก8 ใน10ข้อ) ร้อยละ 80
1.00

 

3 เพื่อให้เด็กที่มีภาวะซีดเข้ารับการรักษา
ตัวชี้วัด : เด็กที่มีภาวะซีดจากการคัดกรองได้รับการรักษา ติดตาม ส่งต่อ ร้อยละ 100
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 98
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 98
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองภาวะโลหิตจางในเด็ก 6 เดือน-1 ปี (2) ให้ความรู้เรื่องการดูแลเด็กที่มีปัญหาซีดและโภชนาการในเด็ก แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแล (3) เพื่อให้เด็กที่มีภาวะซีดเข้ารับการรักษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองภาวะโลหิตจาง -คัดกรองเด็กอายุ 6 เดือน ถึง1 ปี (2) กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและผู้ดูแล แลกเปลี่ยนประสบการณ์การ ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก 6เดือนถึง-1 ปี  ทั้งหมด 2 ครั้ง (3) กิจกรรมติดตาม รักษา อย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองภาวะโลหิตจางในเด็ก ตำบลเทพา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L8287-1-9

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศูนย์เวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนศูนย์ 2 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด